357: Osamu KIMURA

Published on Jan 22, 2013 at 4:34 am.Filled under: In-Niigata | No Comments |
358: Tomomi CHIKUI

Published on Jan 22, 2013 at 4:36 am.Filled under: In-Niigata | No Comments |
359: Noriko OBARA

Published on Jan 22, 2013 at 4:39 am.Filled under: In-Niigata | No Comments |
35: Khanitta Rasrisai

Khanitta Rasrisai
ขนิษฐา ราษีใส

Roommates are people who share the same space to live beneficial. Roommates have no specific rules to live by but must respect each other. Read the full post

Published on Feb 14, 2019 at 3:57 am.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
35: นูรญาตี แคยิหวา

นูรญาตี แคยิหวา

These day, modern women have to go out to work. Thus, they do not have enough time to cook for their family, so they buy food from restaurant instead.

Read the full post

Published on Nov 19, 2018 at 2:46 am.Filled under: News | No Comments |
360: Miyuki NAKAMURA

Published on Jan 22, 2013 at 4:41 am.Filled under: In-Niigata | No Comments |
361: Takashi KASAI

Published on Jan 22, 2013 at 4:42 am.Filled under: In-Niigata | No Comments |
362: Jonas Aditya Pramudita

Published on Jan 22, 2013 at 4:44 am.Filled under: In-Niigata | No Comments |
363: Shin KAI

Published on Jan 22, 2013 at 4:47 am.Filled under: In-Niigata | No Comments |
364: Nobuyuki MIZUSHIMA

Published on Jan 22, 2013 at 4:49 am.Filled under: In-Niigata | No Comments |
365: Yukari SANO

Published on Jan 22, 2013 at 4:50 am.Filled under: In-Niigata | No Comments |
366: Akinori HONMA

Published on Jan 22, 2013 at 4:55 am.Filled under: In-Niigata | No Comments |
36: Khanitta Rasrisai

Khanitta Rasrisai
ขนิษฐา ราษีใส

Roommates are people who share the same space to live beneficial. Roommates have no specific rules to live by but must respect each other.

Read the full post

Published on Nov 19, 2018 at 2:33 am.Filled under: News | No Comments |
36: Pawinee Kaewklongnoi

Pawinee Kaewklongnoi
ภาวิณี แก้วคลองน้อย

Roommates, people with different backgrounds living in the same space. The fact that they share everything with each other makes them become friends and foes.

Read the full post

Published on Nov 19, 2018 at 2:07 am.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
37: Wannasiri Boonyen

Wannasiri Boonyen
วรรณศิริ บุญเย็น

Inspiration caused by stray dogs, we get a raise. And I had to feed them. Each one is life differently. From then to now is the time 5 years ago.

Read the full post

Published on Nov 19, 2018 at 1:21 am.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
38: Atichart Watanapichetpong

Atichart Watanapichetpong
อติชาติ วัฒนาพิเชษฐ์พงศ์

 found “Once agian Hostel” that make a inclusive business to support community around Giant Swing area. 

Read the full post

Published on Nov 19, 2018 at 1:09 am.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
39: Thaiyong Srirattanapan

Teerawat Phucksakitkhuncha
ธีระวัฒน์ พฤกษกิจกุลชัย

The Creations of Adam is the image of God giving a life to the first man, Adam.

Read the full post

Published on Nov 19, 2018 at 12:00 am.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
40: Teerawat Phucksakitkhuncha

Teerawat Phucksakitkhuncha
ธีระวัฒน์ พฤกษกิจกุลชัย

“Khlong Toei” Since the first time I heard this name from the parent. The stories that have been- heard are often not good in society. 

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 11:29 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
41: Pasuth Sa-ingthong

Pasuth Sa-ingthong
พศุฒม์ สอิ้งทอง

Saturday, January 6, 2018. “Bangkok Art and Culture Center” is one of the most popular venues- in Bangkok.

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 11:26 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
42: Ammarit Rakdam

Ammarit Rakdam
อมฤต รักดำ

I am impressed in one speech that “smile for happiness with everyone” as the words of the man selling rice area Itsaraphap road.

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 11:17 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
43: Worawut Srijampa

Nattapong Panpiew
ณัฐพงษ์ พันผิว

The impression is one of great value, I give myself a friend of a friend who has a habit of this.

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 11:07 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
44: Nattapong Panpiew

Nattapong Panpiew
ณัฐพงษ์ พันผิว

I want to present the role of the people who are socially stigmatized in the society.

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 11:01 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
45: Sornsuda Kanghae

Sornsuda Kanghae
สุธาวี สมบูรณ์ผล

It is at the market where people trade and do business together that I meet with this older man- that sell play dough (modeling clay) for already a few decades .

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 10:51 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
46: อิทธิพล ศักดิ์เจริญชัยกุล

อิทธิพล ศักดิ์เจริญชัยกุล

The inspiration I got was the first thing I saw was the aggressive kids. 

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 10:43 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
47: Sutawee Somboonpol

Sutawee Somboonpol
สุธาวี สมบูรณ์ผล

The present society is scary. Our second home is the school and we will be cultivated a lot from there. 

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 10:33 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
48: Montree Wanapitakkul

Montree Wanapitakkul
มนตรี วนาพิทักษ์กุล

Bangkok likes a heaven on earth that you should visit even just once in your lifetime.

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 10:19 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
49: Phanthip Thanomchuea

Phanthip Thanomchuea
พันธ์ทิพย์ ถนอมเชื้อ

My inspiration was from a person named Nui. Or some people called Auntie Nui. Auntie Nui is a cook at the pohchang school. Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 10:09 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
50: Phakakrong khuenkhancharoen

Phakakrong khuenkhancharoen
ผกากรอง เขื่อนขันธ์เจริญ

A day , it was raining heavily , we were late and no taxi or tuk-tuk would stop to pick us up.

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 10:03 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
51: Permlarp Chunkesorn

Permlarp Chunkesorn
เพิ่มลาภ ชื่นเกษร

There’s a man in my neighbourhood who collect the surplus of food that the Monk in the temple will not eat.

Read the full post

Published on Nov 18, 2018 at 9:32 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
52 : Channarong Dangprakam

Channarong Dangprakam
ชาญณรงค์ แดงประคำ

Derived from close friend, he live in my damitory.

Read the full post

Published on Nov 17, 2018 at 12:08 pm.Filled under: 31 century museum :Bangkok (Land of smiles) | No Comments |
A Human

A Human
(Jedsada Tangtrakulwong and the Khotphuwieng family)
Length: 9.29 minutes
คนเต็มคน
เจษฎา ตั้งตระกูลวงศ์เเละครอบครัวโคตรภูเวียง
ความยาว: 9.29 นาที

 

Sutan Khotphuwieng from Mahasarakram, is a teacher, philosopher, cultural academician, righteous activist and a head of the family. He is the example of one that has perfect humanity. This short film project that features the identity of Sutan Khotphuwieng is collaborated by Jedsada Tangtrakulwong and all four family members of Sutan Khotphuwieng’s family including Taungnak Khotphuwieng, Wantana Khotphuwieng, Jirada Khotphuwieng and Lapon Khotphuwieng. The audience will be introduced to Sutan Khotphuwieng through his family’s indication, without any picture of him in the film. Instead, his pictures will manifest in the audience’s mind through information and imagination from the family. Each member of the family will introduce different roles of Sutan, in which they documented and edited the film themselves. The reason for inviting Sutan’s intimate ones in reciting his character is to produce facts and information without any constitution, trusting that truth is beauty. A short film created by his children also reflects their quality as Sutan’s output.

นายสุแทน โคตรภูเวียง ชาวจังหวัดมหาสารคาม ผู้เป็นทั้งครู นักปราชญ์ นักวิชาการวัฒนธรรม นักต่อสู้เพื่อความยุติรรมและหัวหน้าครอบครัว เป็นตัวอย่างของผู้มีความเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์ ภาพยนตร์สั้นที่นำเสนอตัวตนของนายสุแทน โคตรภูเวียงในโครงการนี้ เป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง เจษฎา ตั้งตระกูลวงศ์ และสมาชิกทั้งสี่คนในครอบครัวของนายสุแทน อันประกอบด้วย นางทองนาค โคตรภูเวียง นางสาววันทนา โคตรภูเวียง นางสาวจิรดา โคตรภูเวียง และ นายลภณ โคตรภูเวียง ผู้ชมจะได้รับรู้ตัวตนของนายสุแทน โคตรภูเวียง ผ่านการบอกเล่าของสมาชิกในครอบครัวนายสุแทน โดยจะไม่มีรูปภาพของนายสุแทนในภาพยนตร์สั้น แต่ภาพของนายสุแทนจะเกิดขึ้นในมโนคติของผู้ชม จากการสรุปข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้รับและจินตนาการตาม สมาชิกแต่ละคนจะนำเสนอบทบาทแต่ละด้านของนายสุแทน โดยบันทึกภาพและตัดต่อหนังสั้นด้วยตนเอง การที่เชิญคนใกล้ชิดนายสุแทน มาทำหน้าที่ในการถ่ายทอดความเป็นตัวตนของนายสุแทน เพื่อมุ่งเน้นการนำเสนอข้อมูลที่เท็จจริง ไม่ปรุงแต่ง เพราะเชื่อว่าความจริงคือความงาม ภาพยนตร์สั้นที่สร้างสรรค์โดยลูก ๆ ยังเป็นคล้ายกระจกสะท้อนความมีคุณภาพของลูกอันเป็นผลผลิตของพ่อสุแทน

 

Published on Apr 09, 2013 at 1:11 am.Filled under: Short Film | No Comments |
A Movie For My Inspiration

A Movie For My Inspiration
Santanut Kavownark
Naruemon Hansakul
Length: 4.35 minutes
A Movie For My Inspiration
สัณธณัฐ กะเหว่านาค
นฤมล หาญสกุล
ความยาว: 4.35 นาที

 

This movie is about one of my friend who at first followed his parent’s instruction to become an accountant. He felt really bad about it, he just want to do things that he loved but not for what the other people order you to do. He is just like other high school kids who want to follow his dream to the end. One day, he realizes that Art is what he living for. After many years that he’s been in art class, finally he found what he’s good at and loved it. So he made a decision that he will become one of the artists. But his father didn’t agree with my friend’s thought. His father said that it is really difficult for the artist to become famous and it’s not a good job. My friend really had a hard time with that. In the end, he was just going for his dream by registering an art university by fighting with his parents. I talked to his father. Once, his father seems to be not proud of my friend because he enters the art faculty. His father tries to humiliate him by teasing him all the time. I feel really sorry for my friend. When the time pass by, my friend gaining more experience and tactics which make him now an artist whose work really been accepted and loved by many art critics. I saw his father’s change; he now understands my friend that if he does what he loved, he will do it very well. After all that, I saw his father was really proud of him and I feel proud of him too. I think that this one of my friend is really a great person who not give up for what he loved. He inspired me with his motivation. So that I now want to do just like him to do the job that I like by making parents understand. I know it is really for the others because nowadays parents just want their children to be doctors or engineers. You just have to show them your potential and what you are capable of. They will understand and be proud of you, when you do the things you loved.

หนังเรื่องนี้เกี่ยวกับเพื่อนคนหนึ่งของผมที่ตอนแรกทำตามคำแนะนำของพ่อแม่ในการจะเป็นนักบัญชี เขารู้สึกแย่มาก เพราะเขาอยากทำในสิ่งที่เขารัก ไม่ใช่ทำตามสิ่งที่คนอื่นบอกให้ทำ เขาก็เหมือนนักเรียนม.ปลายอื่นๆที่อยากทำตามความฝันของตัวเองให้ถึงที่สุด วันหนึ่ง เขาพบว่าเขาอยากใช้ชีวิตเพื่อศิลปะ หลังจากหลายปีของการเข้าเรียนวิชาศิลปะ ในที่สุดเขาก็พบสิ่งที่เขาถนัดและรัก ดังนั้นเขาจึงตัดสินใจที่จะเป็นหนึ่งในศิลปินทั้งหลาย แต่พ่อของเขาไม่เห็นด้วยกับความคิดนี้ พ่อเขาบอกว่ามันยากมากสำหรับศิลปินที่จะดัง และมันเป็นอาชีพที่ไม่ดี เพื่อนของผมผ่านเรื่องนั้นอย่างยากลำบาก แต่ท้ายสุด เขาก็เลือกทำตามความฝัน สอบเข้ามหาวิทยาลัยที่เกี่ยวกับศิลปะ และทะเลาะกับพ่อแม่เกี่ยวกับเรื่องนี้ ผมเคยคุยกับพ่อเขาครั้งหนึ่ง และดูเหมือนพ่อจะไม่ค่อยภูมิใจที่ลูกสอบติดคณะเกี่ยวกับศิลปะ พ่อของเขาพยายามเยาะเย้ยเขาโดยการแซวเขาอยู่เสมอ ผมรู้สึกเห็นใจเพื่อนผม เมื่อเวลาผ่านไป เพื่อนของผมมีประสบการณ์และเทคนิคมากขึ้น ซึ่งทำให้เขากลายเป็นศิลปินที่ถูกรักและยอมรับจากนักวิจารณ์หลายคน ผมเริ่มเห็นการเปลี่ยนแปลงของพ่อเขา ตอนนี้เขาเข้าใจแล้วว่า หากเพื่อนผมทำในสิ่งที่รักแล้ว ก็จะทำได้ดีมาก หลังจากที่ผมเห็นความภูมิใจของพ่อเขาแล้ว ผมก็ภูมิใจในตัวเพื่อนผมเช่นกัน ผมคิดว่าเพื่อนผมคนนี้ เป็นคนที่เยี่ยมมากในการไม่ล้มเลิกกับสิ่งที่เขารัก เขาได้ให้แรงบันดาลใจกับผมด้วยความกระตือรือร้นของเขา ผมอยากจะทำในสิ่งที่ผมรักเหมือนเขาโดยการทำให้พ่อแม่เข้าใจเรา ผมรู้ว่าอันที่จริงแล้วการที่พ่อแม่อยากให้เราเป็นแพทย์หรือวิศวะกรทุกวันนี้ ก็เพื่อผู้อื่น เราเพียงต้องแสดงให้พ่อแม่เห็นถึงศักยภาพและความสามารถของเรา แล้วพวกเขาจะเข้าใจและภูมิใจในตัวเรา ที่เราได้ทำในสิ่งที่เรารัก

 

Published on Apr 09, 2013 at 4:02 am.Filled under: Short Film | No Comments |
Aj. Somporn

The person who impresses me is Doctor Taweesak Nopakesorn. I like him for the fact that he’s simple and informal. What also impresses me about him is that he is punctual, responsible and forthright. Once as lecturer in a conference, before his lecture, there was another lecturer before him who spent more than his share of time that was agreed. The time that was left for Dr.Taweesak was only 20 minutes before noon, so the moderator asked him to be brief so as not to delay lunchtime and other following programs. The doctor replied that he didn’t cause the error. If there isn’t any system to maintain punctuality, then don’t bother to invite him in the future, because the contents given to the participants in the conference would be disturbed. The third thing that impressed me was, once when he was a chairman at a conference, he illuminated the regulations of the conference. There was this particular participant that was late, who came and went as he pleases without any respect for the regulations. The doctor sent a formal letter to that participant’s original affiliation to inform them the participant’s irresponsibility.

His words that stuck with me till this day is we are not responsible for other’s irresponsibility, if we pamper to their flaws, in time it will become habitual allowing them take advantage of other people in the future.

 

คนที่ฉันประทับใจคือ นายแพทย์ทวีศักดิ์ นพเกษร ชอบที่ท่านเป็นคนเรียบง่ายมากกว่าพิธีรีตรอง เรื่องที่สองที่ประทับใจในตัวท่านคือ ท่านเป็นคนที่ตรงเวลา รับผิดชอบ และกล้าพูดในสิ่งที่ถูกต้อง ในการเข้าร่วมประชุมครั้งหนึ่ง คุณหมอเป็นวิทยากร ก่อนหน้าที่ท่านจะขึ้นพูด ก็มีวิทยากรท่านอื่นพูดก่อน ซึ่งพูดยาวและเกินเวลาของคุณหมอไปมาก ทำให้เหลือเวลาพูดแค่อีก 20 นาทีก่อนเที่ยง ผู้ดำเนินรายการจึงขอให้คุณหมอช่วยสรุปสั้น ๆ เพื่อไม่เสียเวลากินข้าวและทำให้ล่าช้ากระบวนการอื่น ๆ คุณหมอตอบกลับไปว่า อันที่จริงความผิดไม่ได้เกิดจากคุณหมอ หากไม่สามารถควบคุมเวลา คราวหน้าอย่าเชิญคุณหมอมาอีก เพราะสาระที่ผู้เข้าร่วมประชุมจะได้รับนั้น ไม่ครบถ้วน เรื่องที่สามที่ประทับใจอีกเรื่องคือ ครั้งที่ท่านเป็นประธานการประชุม ได้ชี้แจงผู้เข้าร่วมประชุมให้รับทราบถึงกฎระเบียบในการประชุม ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมท่านหนึ่งมาประชุมสายและเข้าออกตามใจตัวเอง ไม่ทำตามกฎระเบียบ คุณหมอจึงทำหนังสือถึงหน่วยงานต้นสังกัดว่าบุคคลผู้นี้ขาดความรับผิดชอบ

คำพูดของคุณหมอที่ทำให้ยึดถือมาจนถึงปัจจุบันนี้คือ เราไม่มีหน้าที่รับผิดชอบคนที่ขาดความรับผิดชอบ เพราะหากเราทำหน้าที่แทนเขาหลาย ๆ ครั้ง เขาจะเคยตัว และในที่สุดเขาก็จะกลายเป็นคนเอาเปรียบผู้อื่น

 

Published on Apr 09, 2013 at 9:49 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Aj.Jo

I am a musician. I am easily inspired. I could quickly harvest inspiration from many people. Though Kamin is also my inspiration, for I frequently pay visit to see how he work, using ideas I got as alternatives to solutions in my work. But if briefly answered, I cannot pinpoint anyone at this moment.

A child once inspired me. She was about 5 or 6 years old. Actually it couldn’t be called an inspiration, rather more like an impression that teaches me something. For example, I told her not to be stubborned. She asked me why I thought of her as stubborned. So I told her “Because when I tell you something, you don’t listen.” Then she asked me, “ Then when I tell you something and you don’t listen, are you being stubborned too?”

This made me think. We shouldn’t assume that just because we are older, we could dominate terms. Sometimes a small child could teach us something and inspire us. A young child’s simplicity and innocence, the honesty in their answer was what really taught me.

 

ผมเป็นนักดนตรีครับ ผมเกิดแรงบันดาลใจได้ง่ายมาก สามารถเก็บแรงบันดาลใจได้จากคนมากมาย อย่างอาจารย์คามิน ก็ใช่ เพราะเยี่ยมหาอาจารย์บ่อย แล้วเห็นวิธีการทำงาน เก็บไปเป็นแนวทางหนึ่งในการหาทางออกให้กับการทำงาน แต่ถ้าถามเร็ว ๆ ผมไม่สามารถเจาะจงคนที่ใช่ในตอนนี้

เคยมีแรงบันดาลใจจากเด็ก อายุประมาณ 5-6 ขวบ ไม่เชิงเป็นแรงบันดาลใจ แต่เป็นความประทับใจที่สอนผมอะไรบางอย่าง อย่างเช่นผมบอกว่าเขาไปว่าอย่าดื้อ เขาถามว่าทำไมผมถึงว่าเขาดื้อ ผมจึงบอกว่า “ก็คุณลุงบอกหนูอย่างนี้แล้วหนูไม่เชื่อ” เขาตอบว่า “แล้วทีหนูบอกคุณลุงแล้ว คุณลุงไม่ฟังเนี่ย คุณลุงดื้อด้วยหรือเปล่า?”

เรื่องนี้ทำให้ผมได้คิด คือเราอย่าคิดว่าเราเกิดก่อนแล้วเราจะเป็นคนผูกขาดความหมายมันได้ บางทีเด็กเล็ก ๆ คนหนึ่งยังสอนเราได้ ก็ให้แรงบันดาลใจ เราได้ ความใส ความบริสุทธิ์ของเขา การที่เขาตอบตรงไปตรงมา มันสอนเราได้เยอะเหมือนกัน

 

Published on Apr 09, 2013 at 9:31 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Amenomori

I’m an independent curator from Japan, and doing community-based art project. There is one artist who taught me a lot. His name is Hiroshi Fuji. He taught me how art can be in the society, with people, and how it can change people’s awareness. He is doing a lot of things, for example, he created a system for exchanging toys that children don’t use or need anymore with others. The project is called Ka-eko, started in 2000 and has now expanded all over Japan. Children love it. Through this project, he got many broken toys that children don’t want anymore, which he created objects with, changing something not useful or not valuable anymore into something special for someone or the society.

 

ฉันเป็นภัณฑารักษ์อิสระจากญี่ปุ่น และกำลังทำเกี่ยวกับโครงการศิลปะเกี่ยวกับชุมชน มีศิลปินท่านหนึ่งซึ่งสอนฉันมากมาย ชื่อของเขา ฮิโรชิ ฟูจิ เขาสอนฉันให้เห็นว่าศิลปะจะเป็นรูปแบบไหนได้บ้างกับสังคม กับผู้คน และสามารถเปลี่ยนแปลงความตระหนักรู้ของผู้คนได้อย่างไร เขาทำอยู่หลายอย่าง ตัวอย่างเช่น เขาสร้างระบบแลกเปลี่ยนของเล่นหนึ่งขึ้นมา ซึ่งเด็ก ๆ สามารถนำของเล่นที่ไม่ใช้ หรือไม่ต้องการแล้ว มาแลกกับคนอื่น ชื่อโครงการว่า คาเอโกะ เริ่มต้นเมื่อปี 2000 ตอนนี้ โครงการนี้ได้ขยายไปทั่วญี่ปุ่น ซึ่งเด็ก ๆ ชอบกันมาก และเป็นเพราะโครงการนี้ เขาจึงได้รับของเล่นที่พังและเด็ก ๆ ไม่ต้องการแล้วมากมาย มาสร้างวัตถุชิ้นหนึ่งขึ้นมาจากของเล่นเหล่านี้ เปลี่ยนอะไรที่ไม่มีประโยชน์ไม่มีค่าแล้ว ให้เป็นอะไรบางอย่างที่พิเศษสำหรับใครบางคน หรือสำหรับสังคม

 

Published on Apr 09, 2013 at 9:55 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Anonymous Published on Sep 23, 2012 at 9:13 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Anonymous Published on Sep 23, 2012 at 9:31 pm.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Anonymous

Anonymous
Arnont Nongyao
Length: 8 minutes
นิรนาม
อานนท์ นงค์เยาว์
ความยาว: 8 นาที

 

The pictures shown in this film are partly taken from my uncle’s funeral, which was done solely to document as a family memo. This was until Kamin Lertchaiprasert encouraged me to join this event, which reminded me of the anonymous man in the funeral.This man would often partake in many local funerals, which he himself isn’t acquainted with. He would eat, live and sleep at each funeral until it ends. People often question this stranger when they first saw him, but his actions eventually made the hosts and others implicitly feel that he is a part of their ceremony. At first, I intended to film the life of this man all over again. But considering this to be a sensitive issue for this man and the locals and I do not want to separate his daily life from his environment. Hence I reviewed the videos of the funeral I’ve shot and found his presence in many scenes. I decided to take what I’ve got and edited them into this short film. The reason behind this man’s actions is not important, but his actions have created movement and impulsion upon the surrounding people, without their awareness.

ภาพในหนังเรื่องนี้ตัดต่อมาจากส่วนหนึ่งของพิธีฌาปนกิจศพของน้าชายข้าพเจ้า ซึ่งตั้งใจถ่ายไว้เพื่อเป็นบันทึกความทรงจำของครอบครัวเท่านั้น จนอาจารย์คามิน เลิศชัยประเสริฐ ได้ชวนเข้าร่วมนิทรรศการนี้ ทำให้นึกถึงชายนิรนามผู้หนึ่งที่ได้พบในงานศพของน้าชาย ชายผู้นี้มักจะเข้ามาช่วยงานพิธีศพของบุคคลต่าง ๆ ในพื้นที่ ที่ตัวเขาเองไม่รู้จัก กินอยู่อาศัย และนอนเฝ้าศพจนกระทั่งเสร็จงาน ทุกคนต่างตั้งคำถามกับชายแปลกหน้าผู้นี้ เมื่อแรกเจอ แต่ด้วยสิ่งที่เขาทำนั้นทำให้เจ้าภาพ และคนทั่วไปรู้สึกว่าชายผู้นี้เป็นส่วนหนึ่งของงานศพนั้น ๆ ไปโดยปริยาย ในตอนแรกข้าพเจ้าตั้งใจจะเข้าไปถ่ายทำชีวิตของชายผู้นี้ใหม่อีกครั้ง แต่ก็เป็นเรื่องละเอียดอ่อนมากต่อความรู้สึกของชายผู้นี้กับคนในพื้นที่ซึ่งข้าพเจ้าไม่อยากที่จะแยกการใช้ชีวิตของเขาออกมาจากสภาพแวดล้อมที่เค้าอยู่ จึงกลับมานั่งดูภาพวีดีโองานศพของน้าชายที่เคยถ่ายไว้ปรากฏว่ามีภาพวีดีโอบางส่วนที่เห็นชายผู้นี้ได้ปะปนอยู่ในงาน และตัดสินใจที่จะนำภาพวีดีโอที่ปรากฏชายผู้นี้ มาสร้างเป็นหนังสั้น อะไรที่ทำให้ชายผู้นี้ทำเช่นนั้น อาจจะไม่ใช่คำถาม แต่การกระทำของเค้าได้สร้างแรงเคลื่อนไหว และเป็นแรงผลักดันผู้คนรอบข้างอย่างไม่รู้ตัวก็เป็นไปได้

 

Published on Apr 08, 2013 at 10:41 pm.Filled under: Short Film | No Comments |
Art on Street

Artist: Peeraphat Aukkaraphat (Bobby)
ศิลปิน: พีรพัฒน์ อัครพัฒน์

Read the full post

Published on Apr 12, 2011 at 2:31 am.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Background

In June, 2009, 21st Century Museum of Contemporary Art, Kanazawa invited me to join the conference on the very challenging topic; ‘Stimulate City by Art’. Read the full post

Published on Apr 18, 2011 at 10:56 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Beyond Profession

เหนือพ้นอาชีพ

Patama Roonrakwit
คุณปฐมา หรุ่นรักวิทย์

CASE Community Architects for Shelter and Environment
www.casestudio.info

Read the full post

Published on Sep 10, 2013 at 4:18 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Busara Tangtreechak & Amy Tharnpipitchai

Busara Tangtreechak

Our beloved King is my inspiration. Every time that I work hard, I’ll be telling myself that he’s even working harder. We should be seeing his example before complaining about our hardship. Sometimes he gives me the power to move on.

 

ในหลวงอันเป็นที่รักของเราคือแรงบันดาลใจของฉัน ทุกครั้งที่ฉันทำงานหนัก ฉันจะคอยบอกตัวเองว่าท่านทำงานหนักยิ่งกว่า เราควรมองตัวอย่างของท่านก่อนที่เราจะบ่นถึงความยากลำบากของตัวเอง บางครั้งท่านทำให้ฉันมีพลังที่จะก้าวต่อไป

 

Amy Tharnpipitchai

For me, there’s nobody in particular. But I think I sort of follow Buddha’s philosophy. I follow Buddha’s path of life where you do good and good karma comes to you.

 

สำหรับฉันแล้ว ไม่มีใครเป็นแรงบันดาลใจเป็นพิเศษ แต่ฉันคิดว่าตัวฉันคอยตามปรัชญาพุทธ ฉันเดินตามทางของพระพุทธเจ้าที่ว่าหาทำดี ก็จะได้รับกรรมดี

 

Published on Feb 07, 2014 at 2:58 am.Filled under: Interview | No Comments |
Cadaver

อาจารย์ใหญ่


Sukanya Wangchaicharoenkit
คุณแม่สุกัญญา หวังชัยเจริญกิจ

Read the full post

Published on Nov 07, 2014 at 10:17 pm.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Cheer you up Published on Jun 08, 2011 at 3:29 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Cheer you up

Language : ENGLISH : THAI

วันหนึ่งขณะที่ผมได้มีโอกาสไปเดินเล่นในตลาดนัดจตุจักร แล้วแวะนั่งพักให้หายร้อนที่ร้านขายของ ของเพื่อนคนหนึ่ง ช่วงเวลานั้นได้มี เพื่อนของเขาเดินผ่านมาพอดีแล้วทักทาย พวกเขาคุยกันสักพักแล้วก็หันมาทักทายผม ผมเหนื่อยจึงไม่ได้พูดอะไรมากจากนั้นเขาก็ลากลับ ผมก็ไม่ได้คิดอะไร เขาจากไปสักพักหนึ่งแล้วก็เดินกลับมาอีกครั้ง พร้อมกับพวงมาลัยช่อหนึ่ง เขานำมามอบให้ผม แล้วอวยพรให้ผมมีความสุขมากขึ้นเพราะนึกว่าผมเศร้า หรือมีปัญหาไม่สบายใจอะไรสักอย่างอยู่ภายในใจ

ผมรู้สึกแปลกใจว่าคนที่เราไม่เคยรู้จักกันมาก่อนเลย หรือเจอหน้ากันเพียงสั้นๆ แต่ทำไมเขากลับอยากให้เรามีความสุข ทุกวันนี้ผมยังจำชื่อเขาไม่ได้เสียด้วยซ้ำ แต่ก็ไม่เคยลืมความหวังดีของเขาในครั้งนี้

มันเป็นความปรารถนาดีที่มนุษย์คนหนึ่งมีให้กับเพื่อนมนุษย์ ผมลองย้อนคิดกลับมายังตัวเอง ว่าเราเคยแสดงออกถึงความปรารถนาดีใดๆเช่นนี้กับใครบ้างไหม? กัคนที่เราไม่คยรู้จักมาก่อน สิ่งเล็กๆเหล่านี้ได้เป็นแรงบันดาลใจให้ผมอยากทำแบบนี้ต่อผู้อื่นบ้าง ถ้าผมมีโอกาส ลองคิดดูว่าถ้ามีคนทำแบบนี้มากขึ้น สังคมคงจะน่าอยู่ขึ้น จริงๆ แล้วความปรารถนาดี หวังให้ผู้อื่นเป็นสุข อาจมีในใจของเราทุกคนอยู่แล้ว เราแค่ไม่เคยตระหนักถึงมัน หรือบางที่เราไม่รู้จักวิธีแสดงออก ลองตระหนักถึงมันดู และเริ่มทำจากสิ่งเล็กๆ กับคนใกล้ตัวเท่าที่จะทำได้ ก็น่าจะดี เหตุกาณ์นี้ทำให้ผมนึกถึงคำพูดคำหนึ่งที่อยู่ในใจผมตลอดมาว่า “หน้าที่ของคนเราทุก คือการทำให้คนที่อยู่ตรงหน้าเรามีความสุข”

Published on Dec 27, 2012 at 3:26 am.Filled under: News | No Comments |
Chiangmai Jai Dee Published on Mar 10, 2010 at 4:18 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Chris Christo

I think the journey of life itself is an inspiration. I draw my influences from the everyday, my reaction to it, how I grow and learn and what I understand about the process. My inspiration doesn’t come from a specific person. It just the way of history, life, how we’ve lived it so far, communities, people, basically everything around me. I’m inspired by life, the tragedy, the ecstasy, beauty, everything.

 

ผมคิดว่าการเดินทางผ่านชีวิตนี้นั่นแหละคือแรงบันดาลใจ ผมรับอิทธิพลจากทุกๆวัน จากปฏิกิริยาของผมต่อมัน จากวิธที่ผมเติบโตและเรียนรู้และเข้าใจจากกระบวนการนี้ แรงบันดาลใจของผมไม่ได้มาจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่จากหนทางของของประวัติศาสตร์ของชีวิต และวิธีที่เราใช้ชีวิตเท่าที่ผ่านมา จากทั้งชุมชน ผู้คน จากแทบจะทุกอย่างรอบตัวผม ผมได้รับแรงบันดาลใจจากชีวิต จากความความโศกเศร้า ความสุดยอด ความงาม และทุกๆอย่าง

 

Published on Feb 07, 2014 at 5:19 am.Filled under: Interview | No Comments |
City Farm (Self-Sustaining) Published on Sep 20, 2011 at 4:35 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Collaboration Published on Jan 13, 2012 at 8:46 pm.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Compassion Published on Feb 19, 2017 at 9:08 pm.Filled under: 31 century museum: Inner World | No Comments |
Concept Published on Apr 19, 2011 at 1:26 am.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Considerate man uses own T-shirt to clean oil he spilled on train in China

Considerate man uses own T-shirt to clean oil he spilled on train in China Read the full post

Published on May 13, 2019 at 3:11 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Creative Sharing Workshop 2011 Published on Jan 08, 2012 at 9:55 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Creative Sharing Workshop 2012 Published on Jul 30, 2012 at 12:52 am.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Creative Sharing Workshop 2013 Published on Feb 05, 2014 at 3:53 am.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Creative Sharing Workshop 2014-2016 Published on Jun 08, 2016 at 4:38 am.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Da

I am a cleaning lady. The people who impress and give me inspiration for how I live are my niece and my mother. My niece, Prasongsri Moondong, is very well behaved. I’ve raised her since she was little and it would be her that takes care of me when I’m old. Just as how I’m taking care of my mother, the one who gave me life. She made me into a human being and the chance to live my life. I don’t have a husband, so now my life is in my niece’s hand.

 

เราเป็นแม่บ้าน คนที่ประทับใจเราและให้แรงบันดาลใจในการใช้ชีวิตคือหลานสาวกับแม่ หลานชื่อ ประสงค์ศรี มูนดง เป็นคนที่ไม่นอกลู่นอกทาง เลี้ยงมาแต่เล็ก ๆ ก็ประทับใจ และจะดูแลเราตอนเราเฒ่าเราแก่ เหมือนที่ดูแลแม่เรามาตลอด เป็นผู้ที่สร้างชีวิตให้เรา ให้เราเกิดมาเป็นคน ที่ได้อยู่มาถึงทุกวันนี้ เราไม่มีแฟน เลยฝากชีวิตกับหลานไว้

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:00 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Dalai Lama Published on May 02, 2011 at 5:24 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Damien

I’m a cook part of the year, the rest I’m trying to start up my own project, learning about permaculture, discovering more about my own self. I think both authors Terrance Mckenna and Aldous Huxley are my inspiration. But Huxley inspired me a lot. Huxley had a very broad approach to spirituality and philosophy, meaning not only studying one subject but also trying to bring his philosophy into every part of his life. He did lots of experiments, traveled, studied psychedelic, etc. He really tried to get as much as he could in his approach to life, to find his path like this. And that’s what I’m doing also.

 

ผมใช้เวลาส่วนหนึ่งของปีในการเป็นพ่อครัว ที่เหลือผมพยายามทำโปรเจคส่วนตัว เรียนรู้เรื่องเกษตรกรรมถาวร และค้นหาเกี่ยวกับตัวเอง ผมคิดว่า คนที่มีอิทธิพลต่อการใช้ชีวิตของผมน่าจะเป็นนักเขียนสองคน คือ Terrance Mckenna กับ Aldous Huxley แต่ Huxley สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผมมากที่สุด Huxley มีรูปแบบที่เปิดกว้างมากในการเข้าหาจิตวิญญาณและปรัชญา ไม่ใช่แค่ศึกษาเพียงหัวข้อเดียว แต่เป็นการนำพาปรัชญาเข้าสู่ทุกด้านของชีวิต ทำการทดลองใหม่ๆอยู่เสมอ เดินทาง ศึกษาเรื่องศิลปมนัสปรีดิ์ รวมเอาสิ่งต่างๆเท่าที่ทำได้ในการเข้าหาชีวิต เพื่อหาหาทางของเขาเอง และผมคิดว่า นั่นก็เป็นสิ่งที่ผมทำอยู่เช่นกัน

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:04 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Day Priest

One of my biggest inspirations is my parent. I’ve learned a lot from both the good and bad things they’ve done. Some the most recent thoughts about them are their work ethic and their passion for life. My father’s passion for life has sometimes gotten him in trouble but has also guided him through life. It shows me that to make it through life, you need some kind of purpose or passion and work hard at those things

 

พ่อแม่ของผมเป็นหนึ่งในแรงบันดาลใจที่เยอะมากสำหรับผม ผมได้เรียนรู้อะไรมากมายจากทั้งสิ่งที่ดีและแย่ที่พวกเขาเคยทำ หลังๆมาผมมักนึกถึงจรรยาบรรณการทำงานและแรงไฟต่อชีวิตของพวกเขา หลายครั้งที่แรงไฟของพ่อผมทำให้เขาตกที่นั่งลำบาก แต่มันก็ได้นำทางเขาผ่านชีวิตเช่นกัน มันทำให้ผมเห็นว่า ในการผ่านชีวิต คุณจำเป็นต้องมีเป้าหมายหรือแรงไฟอะไรบางอย่าง และตั้งใจทำเพื่อสิ่งเหล่านั้น

 

Published on Feb 07, 2014 at 3:34 am.Filled under: Interview | No Comments |
Dhamma Bus

รถเมย์ธรรมมะ
นายสุเทพ เอี่ยมอัมพร

Read the full post

Published on Feb 26, 2010 at 10:43 pm.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Dhamma Bus

Language : ENGLISH : THAI

รถเมย์ธรรมมะ
นายสุเทพ เอี่ยมอัมพร

ผู้โดยสารเฮรถเมล์ธรรมะ คนขับห้อยบทสวดให้อ่าน

โชเฟอร์รถปรับอากาศ ขสมก. หัวใจใฝ่ธรรม นำหนังสือธรรมะมาแขวนไว้ที่เบาะให้ผู้โดยสารได้ อ่านฆ่าเวลาขณะรถติด เผยตั้งใจทำเพื่อเป็นกุศลถวายในหลวง เพราะเก็บหนังสือเอาไว้ที่บ้านก็ไม่มีประโยชน์ ผู้โดยสารชื่นชมเป็นความคิดที่ดี บางรายอ่านแล้วติดใจขอนำกลับไปด้วย

โชเฟอร์รถ ปอ.ขสมก. หัวใจใฝ่ธรรม นำหนังสือธรรมะนับร้อยเล่ม มาให้ผู้โดยสารที่ขึ้นรถได้อ่านฆ่าเวลารถติด ทั้งนี้เรื่องราวของโชเฟอร์รถใจใฝ่บุญรายนี้ เปิดเผยเมื่อวันที่ 16 ก.พ. โดยผู้สื่อข่าวเดินทางไปที่อู่รถ ขสมก.ปอ.สาย 134 ย่านบางบัวทอง จ.นนทบุรี พบนายสุเทพ เอี่ยมอัมพร พขร.ประจำรถสายดังกล่าววิ่งระหว่างหมอชิตใหม่-บางบัวทอง กำลังขะมักเขม้นนำหนังสือธรรมะ ที่ร้อยด้วยเชือกฟางเป็นพวง พวงละ 2 เล่ม เป็นหนังสือประวัติพระเกจิอาจารย์ชื่อดังและหนังสือบทสวดมนต์ แขวนไว้ที่ด้านหลังเบาะที่นั่งผู้โดยสารจำนวน 45 ที่นั่ง

โชเฟอร์รถ ปอ.สาย 134 เปิดเผยว่าขับรถ ขสมก.มา 12 ปีแล้ว ปกติครอบครัวชอบทำบุญอยู่เป็นประจำ เวลา ไปวัดมักจะได้รับแจกหนังสือธรรมะบ่อยมาก จึงสะสมมาเรื่อยๆนับสิบปี มีทั้งรับแจกและซื้อมาอ่านเองด้วย จนกระทั่งหนังสือเริ่มมีมากขึ้น เมื่อปีที่แล้วได้ไปทอดกฐิน กับเพื่อนพนักงานที่จังหวัดเชียงราย ซึ่งมีโครงการทำบุญถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงกลับมาคิดที่บ้านว่า น่าจะทำอะไรถวายในหลวงบ้างโดยที่ตัวเองและครอบครัวไม่เดือดร้อน และคิดว่าน่าจะนำหนังสือธรรมะที่สะสมไว้ มาให้ผู้โดยสารได้อ่านบนรถที่เราขับอยู่ทุกวัน ตอนแรกก็กลัวว่าจะไม่มีผู้โดยสารอ่านกัน แต่ปรากฏว่าวันแรกที่นำมาแขวน มีกระแสตอบรับดีมาก ผู้โดยสารพากันชื่นชม ทำให้มีกำลังใจและอยากจะทำมากขึ้น

นายสุเทพกล่าวต่อว่า มีอยู่หลายรายที่อ่านจนติดใจ พอมาถึงจุดหมายที่จะต้องลงจากรถ ก็เดินมาขอ ว่า ขอนำหนังสือกลับไปอ่านที่บ้านได้ไหม ตนก็ให้เขาไปและนำหนังสือที่บ้านมาเติมให้ใหม่เรื่อยๆ ผู้โดยสารบางรายที่บ้านมีหนังสือเหล่านี้ หลายคนก็นำมามอบให้ บ้าง หนังสือส่วนใหญ่ที่นำมาให้ผู้โดยสารได้อ่านนั้น อาทิ ประวัติของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) คำสอน ของพระธรรมโกศาจารย์ หรือหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ ประวัติหลวงปู่ชา ฯลฯ

โชเฟอร์รถ ปอ.สายธรรมะ กล่าวว่า ปกติแล้วไม่มีรถประจำ พอเลิกงานจะต้องเก็บหนังสือให้เรียบร้อย รุ่งเช้าก็จะนำมาแขวนไว้ให้ผู้โดยสารอ่านเหมือนเดิมจนเป็นกิจวัตรทุกวัน รู้สึกดีและสบายใจที่ได้ทำตรงจุดนี้ แม้จะเป็นจุดเล็กๆก็ตาม ผู้สื่อข่าวถามว่า เสียดายหรือไม่ ที่อุตส่าห์สะสมหนังสือมานานแล้วนำไปให้ผู้อื่น โชเฟอร์ รถเมล์สายธรรมะ กล่าวว่า ไม่เสียดาย เพราะหนังสือเก็บไว้ที่บ้านก็รู้เพียงคนเดียว สู้นำมาให้ผู้อื่นได้อ่านดีกว่า คนอ่านก็จะได้ประโยชน์ จะได้รู้ว่าคำสั่งสอนของครูบาอาจารย์เป็นอย่างไร และได้ขัดเกลาจิตใจของผู้อ่านได้อีกด้วย ตนเข้าวัดอยู่บ่อยๆ ได้ซึมซับธรรมะแล้วทำให้ชีวิตดีขึ้นมาก จากที่เป็นคนใจร้อนก็กลายเป็นคนใจเย็นมีเหตุผล จึงอยากให้ผู้อื่นได้เข้าถึงธรรมะบ้าง

ผู้สื่อข่าวถามว่า หนังสือเคยถูกขโมยบ้างหรือไม่ นายสุเทพกล่าวว่า ไม่เคย มีแต่มาขอ ตนก็ให้ มีอยู่เล่มหนึ่งอายุ 40 กว่าปี หาไม่ได้แล้ว เป็นการรวบรวมประวัติพระอารามหลวงทั่วประเทศ ได้นำมาแขวนไว้ให้ผู้โดยสารอ่าน มีนักเรียนขึ้นมาแล้วมาขอไปบอกว่าจะนำไปทำรายงานส่งอาจารย์ ตนก็ให้ไป รู้สึกเสียดายเหมือนกัน เพราะเล่มนี้เก็บไว้นานแล้วและเป็นหนังสือเก่าด้วย นอกจากนี้ยังเคยมีผู้โดยสารที่นับถือศาสนาอิสลามโดยสารรถและมาขอหนังสือธรรมะ เพราะว่าเขาอยากจะศึกษาคำสอนของศาสนาพุทธ ขณะนี้กำลังจะนำหนังสือเรื่องความกตัญญู ที่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีต่อสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ถ่ายสำเนามาให้ผู้โดยสารได้อ่าน เพราะตนประทับใจในพระจริยวัตรอันงดงามของในหลวง ที่ทรงเสด็จมาเสวยพระกระยาหารกับสมเด็จย่า สัปดาห์ละ 5 วัน แต่ทำไมคนทั่วไปทำไม่ได้

ด้านนายสาคร รุ่งสวัสดิ์ หัวหน้ากลุ่มปฏิบัติการเดินรถ เขตการเดินรถที่ 7 กล่าวว่า ภูมิใจที่มีพนักงานใฝ่ธรรมะ นำเรื่องธรรมะมาเผยแผ่ให้ผู้โดยสาร ถือเป็นเรื่องที่ดีมาก ถ้าพนักงานของ ขสมก. มีจิตใจรักพระพุทธศาสนา ใฝ่คุณธรรมเช่นนี้ จะทำให้การบริการของ ขสมก.ดีขึ้น การร้องเรียนจะลดลง และทำให้ประชาชนกับพนักงาน ขสมก. มีความใกล้ชิดกันมากขึ้น ถือเป็นตัวอย่างที่ดีที่รถคันอื่นๆ ของ ขสมก.น่าจะทำตามบ้าง

ขณะที่นางณัฐนัพพัชร์ สัมรัมย์ พนักงานเก็บค่าโดยสารรถคันดังกล่าว กล่าวว่า หลังจากที่นายสุเทพได้นำหนังสือธรรมะมาไว้บนรถให้ผู้โดยสารได้อ่าน ได้รับคำชมจากผู้โดยสารจำนวนมาก เพราะถือว่าเป็นการอ่านฆ่าเวลาขณะรถติด เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ได้อีกทางหนึ่ง ที่สำคัญธรรมะทำให้คนใจเย็น มีสมาธิเป็นสิ่งที่ขัดเกลาจิตใจได้อีกด้วย

นายมานพ อาชววาณิชกุล อายุ 62 ปี อาชีพธุรกิจส่วนตัว หนึ่งในผู้โดยสารกล่าวว่า ใช้บริการรถ ปอ. สายนี้ประจำ ชื่นชมในความคิดของคนขับที่นำหนังสือธรรมะ มาให้ผู้โดยสารได้อ่านขณะรถติด ทำให้ใจเย็นลง หายหงุดหงิด ตนยังคิดจะนำหนังสือธรรมะที่บ้านมามอบให้กับนายสุเทพ เพื่อนำมาไว้ให้ผู้โดยสารคนอื่นๆได้อ่านอีกด้วย ขณะที่นางอรัญญา สมพฤกษ อายุ 36 ปี อาชีพพนักงานธนาคาร กล่าวว่า ก่อนหน้านี้ไม่เคยสนใจอ่านหนังสือธรรมะเลย จนกระทั่งได้มาโดยสารรถคันนี้ ถือเป็นเรื่องที่ดีมากที่นำหนังสือธรรมะให้ผู้โดยสารได้อ่านนอกจากจะใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์แล้ว ยังได้ความรู้เกี่ยวกับธรรมะติดกับไปด้วย อยากให้รถ ขสมก.คันอื่นนำแบบอย่างไปใช้ด้วย

ที่มา : หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
ฉบับ วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

 

คนขับรถเมล์ กับหนังสือธรรมะ

สำหรับผมแล้ว คนขับคนนี้มีจิตสาธารณะมาก เพราะมัน มากกว่าการแค่ทำงานตามน่าที่กินเงินเดือนและขับรถประจำทาง แต่เขาใส่ใจกับผู้อื่นมากเขาให้ความสำคัญกับคุณค่าของเวลาและสถานที่ กับคนที่เขาบริการ กับงานที่เขาทำ เขาคิดวิธีการสร้างสรรค์ที่ดีและเรียบง่ายเป็นประโยชน์ต่อสังคมด้วย ไม่ต้องใช้ทุนอะไรมาก เอาหนังสือธรรมะที่เขามีมาผูกไว้กับที่นั่งผู้โดยสาร เพื่อให้ผู้โดยสารได้อ่านเวลารอรถติด เป็นการใช้เวลาให้เป็นประโยชน์เวลารถติด เหมือนห้องสมุดเคลื่อนที่ บางคนอยากได้เล่มนั้นกลับไป เขาก็ให้

การกระทำของเขาเป็นการรับผิดชอบต่อสังคมในสิ่งที่ตัวเองทำได้ กับข้อจำกัดของตัวเอง ของสภาพแวดล้อม ถ้ามีวิธีคิดสร้างสรรค์แบบนี้มากขึ้นในสังคม ก็สามารถใช้มันแก้ปัญหาต่างๆที่มีข้อจำกัดได้ คนขับรถเมล์คนนี้เป็นตัวอย่างที่ดีมากในการสร้างสรรค์ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เขามีจิตสาธารณะ เป็นแรงบันดาลใจที่จะส่งต่อให้กับบุคคลอื่นๆ

Published on Dec 25, 2012 at 10:47 pm.Filled under: News | No Comments |
DNA

Artist: Imhathai Suwatthanasilp
ศิลปิน: อิ่มหทัย สุวัฒนศิลป์

Read the full post

Published on Apr 18, 2011 at 8:24 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Dorchester Projects (Art as communication) Published on Sep 20, 2011 at 4:35 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Every moment has its own fingerprints. Published on Feb 18, 2017 at 1:06 am.Filled under: 31 century museum: Inner World | No Comments |
Father and I

Father and I
Tanaphon Inthong
Length: 6.11 minutes
Father and I
ธนภณ อินทร์ทอง
ความยาว: 6.11 นาที

This shot film is about a family activity that interacts between my father and me. It is a manly activity that portrays gender through arm wrestling, which uses a lot of energy. It is a frequent competition that we do to test our bodies, and partly used as a medium for my father to teach me about exercise and living. Other than this, it is also encourages family interactions. I would document our activities with a video camera whenever I get home, which is how this film is made.

งานชิ้นนี้เป็นกิจกรรมในครอบครัวที่ทำระหว่างผมกับพ่อ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ทำในแบบลูกผู้ชาย และยังบอกถึงเรื่องของเพศสภาพที่ถูกนำเสนอผ่านการงัดข้อที่ต้องใช้แรงซึ่งเป็นการแข่งขันที่ทำในครอบครัวเป็นประจำเพื่อที่จะทดสอบร่างกายของผมและพ่อ การงัดข้อเป็นส่วนหนึ่งที่พ่อใช้สอนในเรื่องการออกกำลังกายและการใช้ชีวิตต่าง ๆ ในระหว่างการแข่งงัดข้อเป็นอีกอย่างที่ทำให้เกิดกิจกรรมของครอบครัวมากขึ้นเพื่อความสนุกสนานภายในครอบครัว ความเป็นมาของงานชี้นนี้มาจากชีวิตประจำวันที่ได้กลับบ้านซึ่งทำกันเป็นประจำ ซึ่งถูกถ่ายทอดด้วยการใช้ Video บันทึกภาพในการทำกิจกรรมที่ผมร่วมทำกับพ่อ

 

Published on Apr 09, 2013 at 3:23 am.Filled under: Short Film | No Comments |
First-Aid Kit

Artist: Kritchnun Srirakit
ศิลปิน: กฤชนันท์ ศรีระกิจ

Read the full post

Published on Apr 11, 2011 at 9:30 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Fish Donation

BUENG PAI FARM บึงปายฟาร์ม
อ.ปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Artist: Orn & Run

www.paifarm.com


Read the full post

Published on Sep 10, 2010 at 11:04 pm.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Fisherman’s Friend

Fisherman’s Friend
Anan Sikamahn
Visitthorn Anunsukhiran
Pariwut Piamkarunwong
Length: 6.35 minutes
Fisherman’s Friend
นายอานันท์ สิกขมาน
นายวิศิษฎ์ธร อนันต์สุขหิรัญ
นายปริวุฒิ เปี่ยมการุญวงษ์
ความยาว: 6.35 นาที

 

‘Few’ is a university student that has thoughts about earning his own living without depending his parents; he started breeding various species of fish such Stingrays and Cichlids, by researching and finding breeds from the Internet. When Few was 19 of age, he could earn up to 30,000 Baht per month, solely with this, he paid for his studies and monthly expenses. Hence, I see Few as an example that could inspire other students to follow.

เนื่องจากนายฟิวเป็นนักศึกษาที่มีความคิดที่จะประกอบอาชีพหาเลี้ยงตัวเองโดยไม่ต้องพึ่งพาพ่อแม่ด้วยการเริ่มธุรกิจเพาะพันธุ์ปลาชนิดต่าง ๆ เช่น ปลากระเบนและปลาหมอสี โดยเริ่มหาวิธีและการเพาะพันธุ์ปลามาจาก internet ด้วยตัวเอง เมื่อตอนที่นายฟิวอายุแค่ 19 ปีเขาสามารถหารายได้ได้สูงถึงเดือนละ 30,000 บาทต่อเดือน และด้วยเงินจำนวนนี้ นายฟิว สามารถส่งตัวเองเรียนหนังสือและใช้จ่ายในชีวิตประจำวันได้โดยไม่ต้องพึ่งพาพ่อแม่ และด้วยเหตุผลนี้พวกผมจึงเห็นนายฟิวเป็นบุคคลตัวอย่างที่ให้แรงบันดาลใจกับนักศึกษาคนอื่นได้ปฏิบัติตาม

 

Published on Apr 09, 2013 at 2:38 am.Filled under: Short Film | No Comments |
Fractals – The Colors Of Infinity

Arthur C. Clarke

Read the full post

Published on May 02, 2011 at 5:15 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Fractals – The Colors Of Infinity

Arthur C. Clarke
Read the full post

Published on Dec 27, 2012 at 1:58 am.Filled under: News | No Comments |
Francine

I have a good friend, she passed away when she was 40. She used to be like a sun because she was like sunshine. She was a yoga teacher, practiced massage, a dancer and was always happy. She was a very good friend of mine. Her name was Magalie. Her influenced on me was to be happy. We traveled a lot together. She was also into art, which was where I met her in the North, in an exhibition. She also came to visit me in Bangkok. We went many times to Spain together. I think of her all the time because she’s just like sunshine in my life, smiling and happy, making people around her always happy.

 

ฉันมีเพื่อนสนิทคนหนึ่ง เธอเสียชีวิตไปเมื่ออายุได้ 40 ปี เธอเหมือนกับพระอาทิตย์เพราะเธอเจิดจรัส เธอเป็นครูสอนโยคะ สอนนวด เป็นนักเต้น เป็นคนที่มีความสุข เธอเป็นเพื่อนที่ดีมากของฉัน ชื่อ Magalie สิ่งที่เธอมีอิทธิพลต่อฉัน คือการมีความสุข เราเดินทางด้วยกันเยอะมาก และเธอก็สนใจศิลปะเหมือนกัน ฉันพบเธอทางตอนเหนือ ในงานแสดงศิลปะ แล้วเธอก็แวะมาเยี่ยมฉันที่กรุงเทพฯ เราได้ไปสเปนด้วยกันหลายครั้ง ฉันนึกถึงเธอตลอดเพราะเธอเป็นเหมือนพระอาทิตย์ของชีวิตฉัน เธอมักจะยิ้มและมีความสุขเสมอ และคอยทำให้คนรอบข้างมีความสุขเสมอ

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:16 pm.Filled under: Interview | No Comments |
From Moment After Moment Published on Feb 19, 2017 at 10:48 pm.Filled under: 31 century museum: Inner World | No Comments |
Gerald Leow

I think the people I meet inspire me. When I hear about the story of their life, it could change my idea. It could be the garbage man who sweeps the floor or Albert Einstein whom I’ve read about lately, The fact that Einstein never gives up to search for the answer of his questions satisfies him is really inspiring for me.

 

ผมคิดว่าผู้คนที่ผมพบเจอให้แรงบันดาลใจผม เมื่อผมได้ยินเรื่องราวของชีวิตพวกเขา มันก็สามารถเปลี่ยนความคิดผมได้ เขาอาจจะเป็นคนเก็บกวาดขยะหรืออัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ที่ผมเพิ่งอ่านเกี่ยวกับเขามา การที่ไอน์สไตน์ไม่เคยยอมแพ้การค้นหาคำตอบแล้วนั่นทำให้เขาพอใจ ก็เป็นอีกเรื่องที่ให้แรงบันดาลใจผมมาก

 

Published on Feb 07, 2014 at 3:03 am.Filled under: Interview | No Comments |
Happy Business

Artist: Urai Chaipattanasak
Chiang Mai

อุไร ชัยพัฒนศักดิ์
เชียงใหม่

Read the full post

Published on Dec 09, 2010 at 2:35 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Happy Business

Artist: Urai Chaipattanasak
Chiang Mai

อุไร ชัยพัฒนศักดิ์
เชียงใหม่

Read the full post

Published on Dec 27, 2012 at 12:54 am.Filled under: News | No Comments |
Herb & Dorothy

Herb & Dorothy
You don’t have to be a Rockefeller to collect art
A Film by Megumi Sasaki

www.herbanddorothy.com

Read the full post

Published on Apr 22, 2011 at 2:37 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Herb & Dorothy

Herb & Dorothy
You don’t have to be a Rockefeller to collect art
A Film by Megumi Sasaki

www.herbanddorothy.com

Read the full post

Published on Dec 26, 2012 at 11:02 pm.Filled under: News | No Comments |
Holy Ground Published on Sep 10, 2013 at 10:12 pm.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Home : Contemporary State of Leaving

Home : Contemporary state of Leaving
Teeramon Buangam
Length: 10 minutes
กำแพงบ้าน
ธีรมล บัวงาม
ความยาว: 10 นาที

 

From emptiness to the origin of things, everything has its own place. For many people ‘home’ has become their physical, mental and social identity.
This shot ffiilm begins with the intention to tell a life story of a man who lives in his place. It is a space which has never been accepted in terms of law or society as ‘home’. Nevertheless, it is the portrayal of one man changing from one stage of life to another, leaving his home, both physical home and his physical body.Human has lived to construct his own meanings, to live with these meanings and eventually to learn to leave these meanings behind. This is a story of a man last stage of his learning. An old underprivileged poor man living by Mae Kha Cannel has illegally inhabited on the ancient wall heritage. The very same wall has never been existed in the government’s eyes. And if there is a wall to obstruct us to see, I hope that wall would also be destroyed.

ณ จุดเริ่มต้นอันว่างเปล่าสู่การก่อกำเนิด จากจุดนั้นสรรพสิ่งล้วนมีตำแหน่งแห่งที่ของตน สำหรับมนุษย์จำนวนมากในปัจจุบัน บ้าน หรือ สถานที่อยู่อาศัย ได้กลายมาเป็นส่วนเสริมแต่งปลูกสร้างเพื่อบ่งบอกตำแหน่งแห่งที่ของตนทั้งเชิงทางกายภาพ ทางจินตภาพ และมโนสำนึกร่วมทางสังคม งานชิ้นนี้เริ่มต้นจากการมุ่งหวังที่จะบอกเรื่องราวของมนุษย์คนหนึ่ง ซึ่งใช้ชีวิตอยู่กับบ้านของเขา แม้จะอยู่ในตำแหน่งแห่งที่ซึ่งกฎหมายและสังคมไม่ยอมรับการเป็นบ้าน แต่หากลงท้ายด้วยการถ่ายทอดห้วงคำนึงของมนุษย์คนหนึ่งที่กำลังจะเปลี่ยนผ่าน เดินทางออกจากบ้านของเขา และบ้านอันหมายถึงร่างกาย เมื่อมนุษย์ มีอยู่เพื่อสร้างความหมาย อยู่กับความหมาย และเรียนรู้ที่จะทิ้งความหมายนั้น ๆ ไป นี่จึงเป็นเรื่องราวในช่วงบั้นปลายของการเรียนรู้นั้นของมนุษย์คนหนึ่ง ผู้ถูกเรียกว่าเป็นคนจนริมคลองแม่ข่า ผู้บุกรุกโบราณสถานที่ที่หน่วยงานราชการก็ไม่ได้เหลียวแลการมีอยู่ของกำแพงแห่งนั้น…..ท้ายสุด ถ้ากำแพงมีขึ้นเพื่อกั้นกลางระหว่างเรา ผมหวังว่ามันจะทะลายลงในเร็ววัน

 

Published on Apr 09, 2013 at 12:49 am.Filled under: Short Film | No Comments |
Homeless Hero: Curtis Jackson

Donates Money To Help Out-Of-Work Mother
Chicago, USA

Read the full post

Published on Feb 13, 2012 at 1:06 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Homeless Hero: Curtis Jackson

Donates Money To Help Out-Of-Work Mother
Chicago, USA

Read the full post

Published on Dec 26, 2012 at 9:41 pm.Filled under: News | No Comments |
INSTALLATION VIEW Published on Jan 14, 2012 at 2:30 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
It’s not as you think. It’s not as it seems. Published on Nov 02, 2012 at 1:39 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Jamie Lim

I think life is about your decision, how you want it to be. Everyone has their own way of life in making it simple or complicated. My mother is my inspiration because she’s a very simple person but she’s also very strong and spiritual. She doesn’t speak much but a lot is shown through her actions like how she looks after her children.

 

ฉันคิดว่าชีวิตคือการตัดสินใจของคุณว่าอยากให้เป็นอย่างไร ทุกคนล้วนมีหนทางของตัวเองที่จะใช้ชีวิตให้มันเรียบง่ายหรือซับซ้อน แม่ของฉันเป็นแรงบันดาลใจของฉันเพระาเธอเป็นคนที่เรียบง่ายแต่ก็ยังเข้มแข็งและมีความเป็นจิตวิญญาณสูง เธอพูดน้อยแต่หลายอย่างแสดงออกผ่านการกระทำของเธอ เช่นวิธีที่เธอดูแลลูกๆของเธอ

 

Published on Feb 07, 2014 at 3:42 am.Filled under: Interview | No Comments |
Jaroen and Orawan Polaongnam

The person who made us travel, Tom Clayton, a pilot. He was the one who ignited our dreams. He’s our mentor. He knew we had the potential to cycle around the world, while we didn’t. He’s been ffllflying for 11 years, and stayed at each country until he understood each places. He had seen many eyes’ expression around the world, so when he saw the light in both of our eyes, he told us ‘both of you are able to cycle around the world just as you dreamed.’ We came to know him after reading an article in ‘Sarakadee’ that interviewed him, so we e-mailed him and became friends. We cycled to meet him at Banghra airport, and camped in a tent there. Every time we visit him, we would always get good phrases. When we travel, we always ffiifind uses in these quotes and phrases. Such as ‘Only as far as we seek, can you go. Only as much as we dream, can we be.’ He said if you dare to take risk, you’d be able to live in this world peacefully. So we believe that there’s always someone who’d come to assist anyone with great dreams.

 

คนที่ทำให้เราเดินทาง Tom Clayton เป็นนักบิน เขาคือผู้ที่จุดประกายความฝันของพวกเรา เป็นครูของเรา เขารู้ว่าพวกเรามีศักยภาพที่จะปั่นจักรยาน รอบโลกทั้งที่ตัวพวกเราเองไม่รู้ เขาบินมาแล้ว 11 ปี และได้อาศัยอยู่ในประเทศต่าง ๆ นานพอที่จะเข้าใจแต่ละพื้นที่ เขาเห็นแววตามาเยอะมากรอบโลก ดังนั้น ตอนที่เขาเห็นแววตาพวกเรา เขาบอกว่า “คุณทั้งสองคนสามารถปั่นจักรยานรอบโลกอย่างที่คุณฝันได้” เรารู้จักเขาจากการได้อ่านบทสัมภาษณ์ของเขาในนิตยาสาร สารคดี เราเลยส่งอีเมล์หาเขาและกลายเป็นเพื่อนกัน เราปั่นไปหาเขาที่สนามบินบางพระและตั้งแคมป์นอนที่นั่น ทุกครั้งที่เราไปเยี่ยมเขา เขามักจะมีคำคมหรือประโยคดีให้เราเสมอ เช่น “เราจะไปไกลได้แค่เท่าที่เราค้นหา เราจะเป็นได้แค่เท่าที่เราฝัน” เขาบอกว่าหากเรากล้าเสี่ยง เราก็จะสามารถอยู่บนโลกใบนี้ได้อย่างสันติ ดังนั้นพวกเราเชื่อว่า หากใครที่มีความฝันอันยิ่งใหญ่ ก็ต้องมีคนมาช่วยให้ความฝันนั้นเป็นจริงอย่างแน่นอน

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:30 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Jennifer Teow & Woon Tien Wei

Woon Tien Wei

I am very inspired by what the artist village group does. What’s interesting for me is how people can come together and do something beautiful and meaningful. We are also very inspired by people who believe in what they do, even if the cause they are fighting for might not seem possible of winning or changing the systems of the society, like one of our good friend, Rachel, who’s fighting for the abolition of death penalty.

 

ผมได้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งที่กลุ่มหมู่บ้านศิลปินทำ สิ่งที่น่าสนใจคือการที่คนมารวมตัวกันและทำอะไรบางอย่างที่งดงามและมีคุณค่า พวกเราสองคนก็ได้รับแรงบันดาลใจอย่างมากจากคนที่เชื่อมั่นในสิ่งที่เขาทำ แม้ว่าสิ่งนั้นอาจจะไม่มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จหรือเปลี่ยนแปลงระบบสังคมก็ตาม อย่างที่เพื่อนสนิทของเราคนหนึ่งกำลังทำอยู่ เธอชื่อ Rachel ซึ่งกำลังต่อสู้เพื่อยุติการใช้โทษประหารชีวิตในสิงคโปร์

 

Jennifer Teow

Relating the topic about death penalty, there’s a lawyer called Amra Vee in Singapore who is tackling most of the hard cases in Singapore. He would sometimes charge no fee to help many Singaporeans fight for their rights.

 

อยากเสริมประเด็นเรื่องโทษประหาร มีนักกฏหมายที่ชื่อว่า Amra Vee ที่คอยรับคดียากๆในสิงคโปร์ หลายครั้งที่เขาไม่คิดค่าใช้จ่ายและต่อสู้คดีเพื่อสิทธิของชาวสิงคโปร์

 

Published on Feb 07, 2014 at 3:50 am.Filled under: Interview | No Comments |
Jew

I owe my inspiration to Hiroshi Aikata Sensei and his wife, Hideko Aikata. Hiroshi Sensei was my first Yoga teacher 16 years ago. Other than Yoga, he taught me about life that deeply impressed me. In their lives, they each only have one luggage, which consist all their possessions. I felt as a teenager back then that I was a heavy consumerist, so I was truly awed by him. He live only by what he had, his possessions limits only that much. When I was seeking places to practice meditation, he told me he went to meditate at Dharma Kamala. Leading me to acknowledge Koenka, which I practiced ever since. In every Yoga sessions, I could always feel he was my true Guru. He was the example of how to live, thus I always express gratitude and speak his name in my sessions.

 

คนที่เป็นแรงบันดาลใจของชีวิตคือ อาจารย์ฮิโรชิ กับภรรยาคือ ฮิเดโกะ นามสกุล ไอคาตะ เป็นอาจารย์คนแรกที่สอนโยคะให้เมื่อ 16 ปีที่แล้ว นอกจากสอนโยคะแล้ว อาจารย์ยังสอนอย่างอื่นในการใช้ชีวิตและประทับใจเรามาก ทั้งชีวิตของทั้งสอง มีสมบัติแค่กระเป๋าเดินทางคนละหนึ่งใบ ตอนนั้นในฐานะวัยรุ่น เรารู้สึกเราบริโภคนิยมมาก เราเลยศรัทธาอาจารย์และเป็นความประทับใจ อาจารย์ใช้ชีวิตอยู่แค่นั้น มีสมบัติอยู่แค่นั้น ตอนที่กำลังตามหาที่ที่จะไปเรียนสมาธิ อาจารย์เล่าว่าได้ไปนั่งสมาธิที่ ธรรมกมลา ทำให้ได้รู้จักกับโกเอ็นก้า และได้ปฏิบัติเรื่อยมา เวลาเล่นโยคะทุกครั้ง เรารู้สึกเขาเป็นกูรูแท้ ๆ ของเรา สอนตัวอย่างในการใช้ชีวิต เราจึงขอบคุณและพูดชื่อของอาจารย์ทุกครั้ง

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:22 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Jia

I have been fortunate to meet just a few real teachers in different areas. There’s one in Zen, Sasaki Roshi, who’s now over a hundred years old. In Aikido is Saito Sensei. What they demonstrated was through action, through doing to understand something deeper that cannot be expressed through words, by direct action. But mostly my inspiration has been Epicurus, a Greek philosopher from about 2,500 years ago. I feel like how in the Zen tradition say you ‘lock eyebrows’ with someone, I feel like I’ve locked eyebrows with Epicurus. He’s inspired me and in many ways, my books are a continuation of his direction.

I’ve learned from many people, I’ve learned from many things. I’ve played a bamboo flute; it’s been a great teacher. I’ve studied dance, that has taught me a lot. Martial arts have taught me a lot. Medicine has maybe taught me the most, when I say medicine, I say my patients who has taught me about my life and their life. So I have many teachers. I have had some rocks that have taught me. I have a favorite tree that has taught me. My dogs have been some of my great instructors. Wherever I can learn something, I absorb it.

 

ผมโชคดีมากที่ได้เจอบุคคลเพียงไม่กี่คนซึ่งถือเป็นครูอย่างแท้จริง แต่ในสาขาต่างที่กัน ในทางเซ็นคือ ท่านซาซากิ โรชิ ซึ่งตอนนี้อายุเกินร้อยปีแล้ว ทางไอคิโด ก็คืออาจารย์ไซโต สิ่งที่เขาแสดงให้เห็น คือการกระทำที่เป็นรูปธรรม เพื่อให้เห็นถึงอะไรบางอย่างที่ลึกซึ้ง ไม่สามารถอธิบายผ่านคำพูดได้ แต่ผ่านการกระทำ แต่แรงบันดาลใจส่วนมากของผมมาจาก Epicurus เป็นนักปรัชญาชาวกรีก เมื่อ 2,500 ปีที่แล้ว ในทางเซ็นกล่าวถึงการ Lock eyebrows with someone ผมรู้สึกว่าผมเป็นเช่นนั้นกับเขา ได้รับแรงบันดาลใจจากเขา ผมรู้สึกหนังสือของผมก็เหมือนเป็นการต่อยอดของทิศทางเขา

ผมยังคงเรียนรู้จากหลายคน จากหลายสิ่ง ผมเล่นขลุ่ยไม้ไผ่ ซึ่งเป็นครูที่ดีมากของผม ผมเรียนเต้นรำ และนั่นก็สอนผมเยอะมาก อย่างที่ศิลปะป้องกันตัวก็สอนผมมากเช่นกัน การแพทย์น่าจะสอนผมเยอะที่สุด และในที่นี้ ผมหมายถึงคนไข้เป็นผู้สอนผม เกี่ยวกับชีวิต ชีวิตผม ชีวิตพวกเขา ดังนั้นผมจึงมีครูเยอะมาก เคยมีก้อนหินที่สอนผม มีต้นไม้ต้นโปรดที่สอนผม สุนัขของผมเป็นหนึ่งในผู้ฝึกสอนที่ดีมาก ที่ไหนก็ตามที่ผมสามารถเรียนรู้ได้ ผมก็จะซึมซาบมันทันที

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:25 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Joel Parsons Published on Sep 19, 2011 at 4:33 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Kaew

I met this kid many years ago. I didn’t know him. Though I saw his name in his wallet, but I can’t remember it. The fiffiirst time I met him, people was carrying him in, so I went in to help them clean his body and saw his watch on his wrist, it was still running. He was dead. There’s mud everywhere. He didn’t say anything to me, and I didn’t say anything to him. I think that was all of life, time still goes on all the time. Whether dead or alive, time still goes on. I think this is what’s important. That’s what he told me. He taught me something deep inside.

 

ผมไปเจอน้องคนหนึ่งนานมาแล้วหลายปีก่อน เราไม่รู้จักกัน ผมไปค้นกระเป๋าตังค์เจอชื่อเขา แต่ก็จำชื่อเขาไม่ได้ ครั้งแรกที่เจอกัน มีคนแบกเขาเข้ามา ผมจึงเข้าไปช่วยล้างตัวเขา และไปเห็นนาฬิกาที่ข้อมือเขา มันยังหมุนอยู่ เขาตายไปแล้ว มีโคลนเต็มไปหมด เขาไม่ได้พูดอะไรกับผม ผมก็ไม่ได้พูดอะไรกับเขา ผมว่ามันเป็นทั้งหมดของชีวิต เวลาหมุนไปตลอดเวลา ไม่ว่าจะอยู่หรือตาย เวลาก็หมุนไป เลยคิดว่านี่เป็นสิ่งสำคัญ เขาบอกกับผม สอนผมให้เข้าใจบางอย่างข้างในลึก ๆ

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:34 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Katie Waddell Published on Sep 19, 2011 at 4:35 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Khairuddin Hori

I think the biggest influences for me are my parents, my father especially. I found out, one day, that he named me after a man in Singapore who started the Malay opera movement in 1960s. It somehow makes me feel that I’m destined to be an artist, because my father named me after one, who was a Malay opera director. So this idea still lives in me to be a creative person in the creative world all because of my father.

 

ผมคิดว่าอิทธิพลที่ใหญ่ที่สุดในชีวิตของผม มาจากพ่อแม่ของผมเอง โดยเฉพาะพ่อ วันหนึ่งผมเพิ่งพบว่า พ่อตั้งชื่อผมจากชื่อของชายผู้หนึ่งในสิงคโปร์ ที่เป็นผู้ริเริ่มการเคลื่อนไหวของอุปรากรมาเลย์ในช่วงยุค 60 มันทำให้ผมรู้สึกว่าผมถูกลิขิตให้มาเป็นศิลปิน เพราะพ่อผมตั้งชื่อผมจากชื่อศิลปินคนหนึ่ง ซึ่งเป็นผู้กำกับอุปรากรมาเลย์ ดังนั้นความคิดนี้ยังคงมีชีวิตในตัวผม ที่ทำผมให้เป็นคนสร้างสรรค์ในโลกที่สร้างสรรค์นี้ และทั้งหมดก็เป็นเพราะพ่อของผม

 

Published on Feb 07, 2014 at 4:05 am.Filled under: Interview | No Comments |
Lauren Goldstein Published on Sep 20, 2011 at 1:08 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Library

All books and movies collected in the 31st Century Museum of Contemporary Spirit are selected by people my invitation to choose one of their impressive book and movie. Read the full post

Published on Apr 19, 2011 at 2:25 am.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Living Together In Rider Community Project

Living Together In Rider Community Project
Sompong Lirasiri
Length: 4.17 minutes
ไอ้มดแดง
สมพงษ์ ลีระศิริ
ความยาว: 4.17 นาที

 

‘Kamen Rider’ is a fictional Japanese character that has inspired many children till this day. The hidden role beneaths the mask is an alternative which encourages in exhibiting something that isn’t possible in real life. With this reason, the character’s symbol still inspires the weak to seek their dreams and ambitions.

ไอ้มดแดงคือตัวละครญี่ปุ่นที่เป็นแรงบันดาลใจให้กับเด็ก ๆ หลายคนจนถึงปัจจุบัน บทบาทหรือหน้ากากที่ปิดบังสิ่งที่อยู่ภายใต้หน้ากากเอาไว้นั้น เป็นทางเลือกที่สร้างให้ใครก็ตามมีความกล้าที่ต้องการแสดงออกถึงบางสิ่งที่ไม่สามารถจะทำได้ในชีวิตจริง ด้วยเหตุผลนั้นมันทำให้สัญลักษณ์ตัวละครนี้ยังคงเป็นแรงบันดาลใจให้หลายคนที่อ่อนแอ ยังคงมีความฝันและความหวังถึงสิ่งที่ปราถนา

 

Published on Apr 09, 2013 at 1:45 am.Filled under: Short Film | No Comments |
Loredana Paracciani

Recently, on my trip to India, I visited a Non-Government Organization that organized a shelter home for street children. The son of the founders told me how his parents started helping children by providing them with education, work, food, ect. I’m amazed by the kindness of these people, and though they chose a very hard part of life but it is very meaningful. Unfortunately, for most of us, life hasn’t that much meaning while we strive for fame and fortune. I think we can all do something for a cause that is bigger than us. If we can, then we should. It’s our obligation to do it to make our lives better. Even if in the end we are just doing this for our own sake but we must come out of our little worlds, then maybe we’ll find the meaning of our lives. This is my inspiration.

 

เมื่อไม่นานมานี้ ขณะเดินทางในอินเดีย ฉันได้ไปเยี่ยมองค์กรพัฒนาเอกชนแห่งหนึ่งที่จัดตั้งที่พักพิงและช่วยเหลือเด็กข้างถนน ลูกชายของสามีภรรยาที่ก่อตั้งองค์กรนี้เล่าให้ฉันฟังว่าเขาเริ่มต้นช่วยเหลือเด็กข้างถนนอย่างไร พวกเขาช่วยให้เด็กมีที่พักอาศัย การศึกษา งาน และอาหารเป็นต้น ฉันตะลึงกับความเมตตาของคนเหล่านี้ และถึงแม้ว่าพวกเขาได้เลือกชีวิตที่ยาก แต่มันก็มีความหมายอย่างมาก น่าเสียดายสำหรับพวกเราส่วนใหญ่ ที่ชีวิตจะหาคุณค่าในชีวิตอะไรไม่ค่อยได้เมื่อเราพยายามแสวงหาลาภและชื่อเสียง ฉันคิดว่าเราทุกคนสามารถทำอะไรบางอย่างเพื่อสิ่งที่มากกว่าแค่ตัวเรา หากเราทำได้ก็ควรทำ มันเป็นหน้าที่ของเราที่จะทำสิ่งนี้ เพื่อให้ชีวิตเราดีขึ้น ถึงแม้ว่าท้ายสุดจะเป็นการทำเพื่อตัวเอง แต่เราก็ควรก้าวออกมาจากโลกเล็กๆของเรา ซึ่งหลังจากนั้น เราก็อาจจะเริ่มเห็นคุณค่าของการมีชีวิตอยู่ของเรา นั่นคือแรงบันดาลใจของฉัน

 

Published on Feb 07, 2014 at 4:21 am.Filled under: Interview | No Comments |
Marcel

The inspiration in my life comes from an inventor called Tony Goss, he’s dead now. I stayed 3 years in London at his house together with his wife. This couple is very important, but Tony is special for me. He was brilliant. He was an inventor. He worked in a big factory with metal, and created the ‘Goss Cutter’. ‘Goss’ was his name and ‘Cutter’ was something he could cut pieces of metal very easily with just the hand. It was sold in the US and made quite a lot of money. He also invented many funny, almost crazy little things.

When the age of computer arrived in the 70s, he understood way before me of how the computer system would go in informatics. While I sort of pushed it away, not wanting to go there, he was the one really pushing me on. And he was so right, look how it is now. He understood the numeric system much more quicker than me who was young at that time. He was about 55 at that time and died 15 years later.

He influences me in his way of thinking, which is always surprising. He could do something that looks crazy, but when you think of it, it makes sense and that he’s not crazy. To me, he’s brilliant. He brings me up. He’s not the person in my life that stops me from thinking or evolutes. This man brought me up in a way, like a father.

 

แรงบันดาลใจของชีวิตผมมาจากนักประดิษฐ์ ชื่อ Tony Goss ซึ่งเสียชีวิตไปแล้ว ผมใช้ชีวิตที่บ้านเขาในลอนดอนอยู่ 3 ปี พร้อมกับภรรยาของเขา ความจริงทั้งคู่สำคัญ สำหรับผม แต่กับ Tony มากเป็นพิเศษ สำหรับผมแล้ว เขายอดเยี่ยมมาก เป็นนักสร้าง เขาทำงานเหล็กในโรงงานที่ใหญ่มาก และคิดค้นเครื่อง Goss Cutter มาจากชื่อของเขา เป็นอุปกรณ์ที่สามารถตัดเหล็กได้ด้วยมือได้อย่างง่ายดาย มันถูกนำไปขายที่อเมริกา ทำเงินให้เขาไปไม่น้อย เขาประดิษฐ์สิ่งเล็ก ๆ อีกหลายอย่าง ส่วนใหญ่เป็นของที่ตลกและดูบ้า ๆ

และเมื่อถึงยุค 70 ยุคแรก ๆ ของคอมพิวเตอร์ เขาเข้าใจก่อนหน้าผมไปไกลมาก ว่าระบบคอมพิวเตอร์จะไปต่อยังไงในด้านสนเทศศาสตร์ ในขณะที่ผมเหมือนจะคอยผลักออก ไม่อยากไปด้านนั้น แต่เขาก็ไม่ละเลิกที่จะผลักดันผมต่อ และเขาก็พูดถูก ดูตอนนี้สิ เขาเข้าใจระบบตัวเลข รวดเร็วกว่าผมซึ่งยังเด็กอยู่ในขณะนั้น ตอนนั้นเขาประมาณ 55 ปีและเสียชีวิต 15 ปีให้หลัง

อิทธิพลทางด้านความคิดของเขา น่าประหลาดใจเสมอ เขาอาจทำอะไรบางอย่างที่ดูบ้า แต่เมื่อเราคิดกับมัน ก็จะรู้สึกว่ามันสมเหตุสมผล ชายคนนี้ไม่ใช่คนบ้า สำหรับผมแล้วเขายอดเยี่ยม เขาไม่ใช่คนในชีวิตที่ผมเจอแล้วมาหยุดความคิด หรือฉุดรั้งวิวัฒณาการของชีวิตผม ชายผู้นี้เสมือนชุบเลี้ยงผม เหมือนเป็นพ่อ

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:41 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Marissa Lee Benedict Published on Sep 20, 2011 at 1:08 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Meditation Retreat at Wat Pa Chicago (Self-Leaning) Published on Sep 20, 2011 at 4:37 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Meditation Room

Artist: Ming Ching Chen
ศิลปิน: เฉิน หมิง จี้

Read the full post

Published on Apr 11, 2011 at 9:44 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Memory Tattoo

Rita Marhaug

Read the full post

Published on Aug 09, 2009 at 10:55 pm.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Michelangela Salvador

I couldn’t really choose one specific inspiration from arts, people or politics. But combining them together is what makes the way I live life, so it really depends on the environment I surround myself in. It wouldn’t be fair to select just one person. But in terms about life, though I’m a religious person, I do follow God. When you follow and believe in God, you are kind to people. The way of how you treat and live with people reflects on how you love God.

 

ฉันไม่สามารถเลือกแรงบันดาลใจที่เจาะจงจากศิลปะ ผู้คน หรือการเมืองได้ ทั้งหมดเมื่อรวมกันจึงสามารถสร้างวิธีที่ฉันใช้ชีวิต ดังนั้นมันจึงขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่ฉันพาตัวเองเข้าไปมากกว่า มันไม่ยุติธรรมหากต้องเลือกคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ แต่หากมองในภาพของชีวิตโดยรวม แม้ฉันจะไม่ใช่คนเคร่งศาสนา แต่ฉันก็เดินตามพระเจ้า เมื่อคุณตามหรือเชื่อในพระเจ้า คุณก็จะมีเมตตาต่อผู้คน วิธีที่คุณปฏิบัติและใช้ชีวิตร่วมหับผู้อื่น เป็นตัวสะท้อนวิธีที่คุณรักพระเจ้า

 

Published on Feb 07, 2014 at 4:31 am.Filled under: Interview | No Comments |
Michelle

I don’t know his name. I encountered with him only for a few minutes. I was riding a horse deep in the bush in Botswana. My horse was semi-wild. We were riding one day through empty bush area, a place of low red bushes and sand. Suddenly, my horse stopped, and I knew my horse was completely alerted to something. I couldn’t see anything and why it stopped. I looked and looked around, but still couldn’t see anything. I suddenly noticed that just about 10 feet away from me, completely still; exactly the same color as the bushes and the sand was a man. He was absolutely still, staring at the horse and me. I knew he’d never seen anything like this in his life, because we were in an area where no outsiders ever went. So I suddenly understood from the way he was invisible, that he was completely at one with nature, with his entire world. He possessed that ability to physically disappear into nature. After exchanging glances with him for maybe two minutes, neither of us spoke. We were just both of us, in a state of complete astonishment and questioning ‘what is that?’ I felt I encountered a true wise man.

 

ฉันไม่รู้จักชื่อเขา แต่ฉันได้ปฏิสัมพันธ์กับเขาแค่ไม่กี่นาที ฉันกำลังขี่ม้าอยู่กลางป่าใน Botswana ม้าของฉันเป็นกึ่งม้าป่า เราขี่กันไปเรื่อย ๆ ตามพื้นที่พุ่มไม้โล่ง ๆ เป็นบริเวณที่มีพุ่มไม้เตี้ย ๆ กับทรายสีแดง จู่ ๆ ม้าของฉันก็หยุดวิ่ง และฉันรู้ทันทีว่าม้าของฉันกำลังตื่นตัวกับอะไรบางสิ่ง และฉันไม่เห็นอะไรเลย ฉันไม่เห็นต้นเหตุที่มันหยุด ฉันมองไปรอบ ๆ แต่ก็ไม่เห็นอะไร ทันใดนั้นเอง ฉันสังเกตุเห็นว่ามีชายคนหนึ่งห่างจากฉันไปประมาณ 10 ฟุต ยืนนิ่งไม่ขยับตัว สีเดียวกันกับพุ่มไม้และพื้นทราย จ้องมาที่ฉันกับม้า ฉันรู้ทันทีว่าเขาไม่เคยเห็นอะไรอย่างนี้มาก่อนในชีวิต เพราะเราอยู่ในบริเวณที่ไม่เคยมีคนนอกเข้ามา ฉันจึงเกิดความเข้าใจขึ้นจากการที่เรามองแทบไม่เห็นเขา ว่าเขากลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวอย่างสมบูรณ์กับธรรมชาติ กับโลกทั้งใบของเขา เขามีความสามารถที่จะหายตัวอย่างรูปธรรมไปกับธรรมชาติ หลังจากที่ส่งสายตาให้กันอยู่ประมาณ 2 นาที เราทั้งสองต่างไม่พูดอะไร ต่างอยู่ในภวังค์ของความตะลึง ตั้งคำถามในใจ “นั่นคืออะไร” ฉันรู้สึกว่าได้พบเจอกับผู้มีปัญญาอย่างแท้จริง

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:45 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Michelle Ho

I probably have not thought about who my inspiration was since as a child. But I think I find a lot from spiritual masters who inspire me a lot from their patience, their detachment and their wisdom. It’s hard to name someone specifically. Though the writing of Dalai Lamma or Ajarn Cha have been very inspiring.

 

ตั้งแต่เด็ก ฉันแทบไม่เคยคิดถึงประเด็นว่าใครคือแรงบันดาลใจของฉันเลย แต่ฉันคิดว่าฉันได้อะไรมากมายจากอาจารย์ทางจิตวิญญาณทั้งหลาย ผ่านขันติ ความไม่ยึดมั่นและปัญญาของพวกเขา มันยากที่จะเจาะจงว่าเป็นใครโดยเฉพาะ แต่สิ่งที่ดาไล ลามะ หรือหลวงพ่อชาเขียนไว้ก็เป็นแรงบันดาลใจอย่างมากเช่นกัน

 

Published on Feb 07, 2014 at 2:39 am.Filled under: Interview | No Comments |
Mo(m)tivation

Mo(m)tivation
Nattapon Wannaporn
Length: 5.55 minutes
Mo(m)tivation
ณัฐพล วรรณาภรณ์
ความยาว: 5.55 นาที

 

Energies of ‘Relations and Actions’ have driven our lives. My first cord of ‘Relations’ energy is from my mother; this questions me about her living, duties and experiences that exhibits strength of one common woman, how did she accomplished that? This cord of relation has influenced my way of living, has driven me in wanting to lead a better life, manifested courage to live and has made my struggles meaningful life. The content that I would like to tell through this short film is that one person’s story could benefit to another in thoughts about living. Once the heart is opened, the answer arises together with the question.

แรงจาก “สายสัมพันธ์และการกระทำ” ผลักดันขับเคลื่อนชีวิตเราให้ดำเนินไป แรงผลักดันที่มาจากสายสัมพันธ์เส้นแรกของผมคือ“แม่” และเกิดคำถามในการดำเนินชีวิต หน้าที่ ประสบการณ์ ที่ผ่านมาของเธอ และทำให้เห็น ความแกร่งจากผู้หญิงธรรมดาคนหนึ่ง เธอทำอย่างไร? สายสัมพันธ์นี้มีอิทพลต่อการดำเนินชีวิตของผม ผลักดันความอยากมีชีวิตที่ดีขึ้น เกิดความกล้าในการใช้ชีวิตทำให้การดิ้นรนของผมมีความหมาย สิ่งที่อยากจะเล่าผ่านภาพยนตร์สั้นนี้ คือเรื่องราวที่เกิดขึ้นกับคนบางคนก็อาจเป็นประโยชน์ ทางด้านความคิดในการใช้ชีวิตของใครอีกคนเพียงแค่เปิดใจคำตอบก็ได้เกิดขึ้นพร้อมกับคำถามแล้ว

 

Published on Apr 09, 2013 at 1:19 am.Filled under: Short Film | No Comments |
Monday

Monday
Watcharapat Kongkhaow
Length: 6.40 minutes
Monday
โดย วัชรภัทร คงขาว
ความยาว: 6.40 นาที

 

My father owns a ‘cock fight’ stadium. On Monday, I spent my time at the ‘cock fight’ training site, cleaning the place to be ready for Tuesday. Those are the times when I spent time with my father the most.

พ่อของผมเป็นเจ้าของสนามไก่ชน ในวันจันทร์ผมใช้เวลาอยู่ที่สนามซ้อมไก่ชน ทำความสะอาดสนามซ้อมเพื่อให้พร้อมใช้บริการในวันอังคาร และนั้นเป็นเวลาที่ผมได้ใช้เวลากับพ่อมากที่สุด

 

Published on Apr 09, 2013 at 4:32 am.Filled under: Short Film | No Comments |
More Place Forever Published on Aug 10, 2009 at 1:04 am.Filled under: 31 century museum: Inner World | No Comments |
More Place Forever Published on Dec 26, 2012 at 9:13 pm.Filled under: News | No Comments |
Mosquito Man

คุณมานพ รัตนฤทธิกุล
พิพิธภัณฑ์แมลงโลกและสิ่งมหัศจรรย์ธรรมชาติ

Mr.Manop Rattanarithikul
Museum of World Insects and Natural Wonders

Read the full post

Published on Oct 07, 2009 at 2:24 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Mosquito Man

คุณมานพ รัตนฤทธิกุล
พิพิธภัณฑ์แมลงโลกและสิ่งมหัศจรรย์ธรรมชาติ

Mr.Manop Rattanarithikul
Museum of World Insects and Natural Wonders

Read the full post

Published on Dec 27, 2012 at 2:30 am.Filled under: News | No Comments |
Movie: To Be Nothing Published on Feb 21, 2017 at 2:16 am.Filled under: 31 century museum: Inner World | No Comments |
Muhammad Yunus

Language : ENGLISH : THAI

นักเศรษฐศาสตร์ที่ได้รับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ ประจำปี 2006 เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารเพื่อคนจน ได้พูดเรื่องทฤษฎี ไมโครเครดิต (การให้เงินกู้โดยไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกันกับคนจน) และ วิจารณ์ความบกพร่องของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กระแสหลักว่ายังไม่ได้รับการท้าทาย ยกตัวอย่างเช่น ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาค ซึ่งเป็ศูนย์กลางในกรอบการวิเคราะห์ของเศรษฐศาสตร์ทั้งหมด เป็นทฤษฎีที่ไม่สมบูรณ์ ทฤษฎีนี้มองมนุษย์เป็นผู้บริโภคหรือไม่ก็เป็นแรงงาน ดังนั้นจึงละเลยศักยภาพของปัจเจกที่เป็นผู้ประกอบการที่จ้างตัวเอง (self-employed) การแบ่งขั้วคนออกเป็นผู้ประกอบการ (entrepreneur) กับแรงงาน (laborer) มองข้ามความคิสร้างสรรค์และความคิดริเริ่มของมนุษย์แต่ละคนและมองว่าการทำงานแบบ “จ้างตัวเอง” ของประชาชนในโลกที่สามเป็นอาการของความด้อยพัฒนา (อ้างอิง: นายธนาคารเพื่อคนจน VERS UN MONDE SANS PAUVRETE เขียนโดย Muhammad Yunus แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล หน้า: 170-171)

Published on Apr 07, 2017 at 1:01 am.Filled under: News | No Comments |
Muhammad Yunus Published on Apr 07, 2017 at 1:02 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
My Idol

My Idol
Jakraphun Thanateeranon
Length: 2.01 minutes
My Idol
จักรพันธ์ ธนธีรานนท์
ความยาว: 2.01 นาที

 

There are many people that inspired me in my life; each came in different deeds and occasions throughout these 36 years since I was born. My parents and relatives all have inffllfluenced my childhood. When I approached school age, some of my teachers and friends was also my inspiration. Only later when I gain more experience in life, my days in the university was a major turning point, when I met my first important inspiration, which was Prof.Montien Boonma. He, who truly opened my outlook on being an artist, has driven me to carry on working in art and lived my life as an artist till this day. Another important inspiration I’d like to refer to is a foreign artist called Erwin Wurm. I started to take interest in this Austrian artist back in 1999, while I took residence at Vienna in Austria under a UNESCO artist scholarship. I met him in person in 2011 and had the opportunity to work with him ever since. I was granted this chance to open my perspective outside the classroom by working with him. It has been my major encouragement to lead on the path of the art world.

พูดถึงบุคคลที่เป็นแรงบันดาลใจในชีวิตของผม ก็มีอยู่หลายท่าน แต่ละท่านก็มาต่างกรรมต่างวาระกันในช่วงระยะเวลาตลอดสามสิบหกปีของชีวิตตั้งแต่ลืมตาดูโลกมา บุพการี ญาติพี่น้องบุคคลในครอบครัวต่างมีอิทธิพลในการดำรงชีวิตในวัยเด็ก เมื่อเข้าสู่วัยเรียน ที่โรงเรียนครูและเพื่อนในบางครั้งก็เป็นแรงบันดาลใจเช่นเดียวกัน แต่เมื่อประสบการณ์ในชีวิตมีเพิ่มมากขึ้น ช่วงชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยน่าจะเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญที่สุด เมื่อผมได้พบกับแรงบันดาลใจสำคัญท่านแรก นั่นคืออาจารย์มณเฑียร บุญมา ผู้ที่เปิดโลกทัศน์ แห่งการเป็นศิลปินให้กับผมอย่างแท้จริง และผลักดันให้ผมยังคงทำงานศิลปะและดำรงชีวิตอยู่อย่างศิลปินจนถึงทุกวันนี้ ส่วนแรงบันดาลใจสำคัญท่านที่สองที่อยากกล่าวถึงในที่นี้ คือศิลปินต่างชาตินามว่า เออร์วิน เวอร์ม (Erwin Wurm) ผมเริ่มรู้จักผลงานของศิลปินชาวออสเตรียท่านนี้เมื่อปี 1999 ขณะที่ผมได้รับทุนยูเนสโกไปเป็นศิลปินในที่พำนัก ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย และมีโอกาสได้พบตัวจริงของท่านเมื่อปี 2011 และได้มีโอกาสทำงานร่วมกันเรื่อยมา ผมได้รับความกรุณา และเปิด โลกทัศน์ เรียนรู้นอกห้องเรียนผ่านการทำงานร่วมกับท่าน และมันคือกำลังใจสำคัญที่ทำให้ผมจะยังคงก้าวต่อไปบนเส้นทางของโลกศิลปะ

 

Published on Apr 09, 2013 at 3:12 am.Filled under: Short Film | No Comments |
Nadla Ng

My best friend is a great source of inspiration. He is a writer and artist with a very free spirit. He taught me how to let things go, to share myself and live with others in a better way. He believes in Buddhist philosophy and doesn’t own a lot of possessions, so through him, I’ve learned a lot more about myself, and what I can do for the people who I care about.

 

เพื่อนสนิทของฉันเป็นที่มาของแรงบันดาลของฉัน เขาเป็นนักเขียนและศิลปินที่มีจิตวิญญาณเสรี เขาสอนฉันเรื่องการปล่อยวาง การแบ่งปันตัวเองและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างไรให้ดีขึ้น เขาศรัทธาหลักปรัชญาสายพุทธ และไม่ได้ครอบครองทรัพย์สินอะไรมากมาย ดังนั้นฉันจึงได้เรียนรู้อะไรเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับตัวเองและสิ่งที่ฉันทำได้เพื่อคนที่ฉันห่วงใย ผ่านตัวเขา

 

Published on Feb 07, 2014 at 4:36 am.Filled under: Interview | No Comments |
Nature never Change because Changing is Nature Published on Feb 18, 2017 at 1:46 am.Filled under: 31 century museum: Inner World | No Comments |
News พิพิธภัณฑ์ศตวรรษที่ ๓๑ ที่กรุงเทพมหานครฯ(สยามเมืองยิ้ม) วิทยาลัยเพาะช่าง 6 ตุลาคม 2561 – 15 พฤศจิกายน 2561 พิธีเปิดงานวันที่ 6 ตุลาคม 2561 เวลา 17.00 น. Contact 31st Century Museum In Bangkok

Published on Jan 01, 2019 at 9:28 pm.Filled under: Activities | No Comments |
Nida Nikornpun

Nida Nikornpun
Soravis Vibhagool
Pavarase Paisarnjaroenwong
Panida Aonsamang
Length: 5.26 minutes
คุณนิดา นิกรพันธุ์
สรวิศ วิภากุล
ปวเรศ ไพศาลเจริญวงศ์
พนิดา อ่อนสำอางค์
ความยาว: 5.26 นาที

 

Nida Nikornpun is the founder of SOS project that aims at volunteering to house stray cats and dogs. We are impressed by their work, so we decided to interview and see how they work. Ms. Nida has told us about her work experiences and how the project functions, providing spaces for the strayed animals. By all means, both human and animals need care and affection, so we as Thais should join in taking care, preventing it to grow into bigger problems. There are about 300,000 populations of strayed animals in Bangkok, which the government hasn’t the ability to thoroughly tend to. Thus, Ms.Nida and other compassioned people has reached in to help.

คุณนิดา นิกรพันธุ์ เจ้าของโครงการสานสายใยชีวิต (SOS) ซึ่งเป็นโครงการที่ดูแลช่วยเหลือหาบ้านให้สุนัขและแมวที่ไม่มีที่อยู่ โดยไม่หวังผลตอบแทน พวกเราเลยประทับใจการทำงานของกลุ่ม SOS เลยติดตามไปสัมภาษณ์และดูการทำงานของพวกเขา คุณนิดา ได้เล่าถึงประสบการณ์การทำงาน และวิธีการทำงานของโครงการ โดยคุณนิดา มีสถานที่จัดไว้สำหรับสัตว์เร่ร่อน ไว้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้และทั้งทั้งนั้น ไม่ว่าคนหรือสัตว์ล้วนต้องการคนดูแล ดังนั้นพวกเราคนไทยควรช่วยกันดูแล เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาใหญ่ของสังคม ในกรุงเทพฯ มีจำนวนประชากรของสัตว์เร่ร่อนประมาณ 300,000 ซึ่งรัฐบาลก็ไม่สามารถดูแลสัตว์เหล่านี้ได้ทั่วถึง เพราะฉะนั้นคุณนิดา และผู้มีจิตเมตตา จึงยื่นมือเข้ามาจัดการกับปัญหาเหล่านี้

 

Published on Apr 09, 2013 at 2:17 am.Filled under: Short Film | No Comments |
No past, No present, No future (Perform without perform) Published on Feb 20, 2017 at 2:24 am.Filled under: 31 century museum: Inner World | No Comments |
Nothing Special Published on Feb 20, 2017 at 4:25 am.Filled under: 31 century museum: Inner World | No Comments |
O

If I were to choose just one person that completely inspires me in every way, there isn’t such one. For there really are many of them, each specific person would inspire me in their specific way. For example, my friend Ting would give me inspirations in a type of feeling. When I’m tired, she would have this warm feeling. Thinking positively, she would have a way of thinking that shows me what actually is.

When I’m in an environment really doesn’t suit me, it takes a lot of tolerance to cope with something so different. It is very pressuring, which possibly is also from within. I would feel upset, angry or sometimes sad. Ting would encourage me through words or thoughts that eases my feelings. These words or thoughts would let me reflect on myself, chipping away the rust that covers how we could really look at things. If we could always see things differently, it could make us happier.

 

ถ้าจะให้เลือกคนที่ให้แรงบันดาลใจที่สมบูรณ์ในคนๆเดียว ก็ไม่มีคนแบบนั้น เพราะมีหลายคนจริง ๆ แต่ละคนก็จะให้แรงบันดาลใจในแต่ละด้าน อย่างพี่ถิง เขาให้แรงบันดาลใจในเชิงความรู้สึก อย่างเวลาที่เราเหนื่อย พี่ถิงจะมีความรู้สึกที่อบอุ่นอยู่ พี่ถิงคิดในแง่บวกตลอด และจะมีแนวคิดที่บอกกับเราว่าอันที่จริงแล้วมันเป็นอย่างไร

เมื่อเราอยู่ในสังคมที่ไม่เหมาะกับตัวเอง เราต้องใช้ความอดทนอย่างสูงในการอยู่ในที่ ๆ มันต่างจากเรา มันเกิดความกดดันและแน่นอนมันมาจากภายในตัวเราเอง จึงย่อมมีความรู้สึกไม่พอใจ โกรธ หรือไม่สบายใจบ้าง ก็มีพี่ถิงที่คอยให้กำลังใจผ่านวิธีพูดหรือวิธีคิดที่ช่วยให้เรารู้สึกดีขึ้น มันทำให้เรามองกลับมาที่ตัวเอง ได้กลับมาเคาะสนิมที่เกาะการมองของเราอยู่ ว่าแท้จริงหากเรามองต่างไป มันก็อาจทำให้เรามีความสุขมากขึ้น

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:47 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Opening Day 31st Century Museum

Language : ENGLISH : THAI

Opening Day 31st Century Museum
February 14,  2017

 

Published on Mar 15, 2017 at 2:33 am.Filled under: Activities | No Comments |
Opening Day 31st Century Museum-th

Language : ENGLISH : THAI

วันเปิด พิพิธภัณฑ์ศตวรรษที่ 31
14 กุมภาพันธ์ 2560

 

 

Published on Mar 15, 2017 at 2:36 am.Filled under: News | No Comments |
Peter

Sometimes I get inspired by David Lynch, the film-maker. In his movies, he shifts between different layers of ideas. It’s in the same time a little superficial and also very deep. I like how he gets in touch with the human feelings and how he can expose them.

 

บางครั้งผมได้แรงบันดาลใจจาก David Lynch เป็นคนทำหนัง เขาจะเปลี่ยนย้ายระหว่างความคิดชั้นต่าง ๆ ในหนังของเขา ซึ่งอาจจะผิวเผิน แต่ก็ลึกมาก และผมชอบที่เขาสามารถจับต้องกับอารมณ์ของมนุษย์ และการที่สามารถเปิดเผยมันออกมา

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:50 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Photo Gallery @ Chicago

On-going Project: Class, Workshop and Exhibition @ Sullivan Galleries,
Department of Exhibitions at The School of the Art Institute of Chicago.

Class: August 1st – 19th 2011.
Exhibition: 9th September 2011 – December 2011.

Read the full post

Published on Sep 20, 2011 at 2:32 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Phra Pratom

Everyone that came in my life, all was inspiration. Each of them with their pros and cons, but I chose only the good part of them to practice myself. I find it natural if I do not like them at first. But if only we pick their good parts, it would benefit ourselves in living our lives and forward the benefits to others.

My father is a man of his words. He is the one that’s constantly in my mind. Inspired by him, I live my life with veracity and keep my promises. Everything is a truth that we have to embrace, like what Mr.Kamin said. The Ultimate Truth, Conventional Truth. If we respect the truth, we will receive the truth.

 

จริง ๆ แล้ว ทุกคนที่ผ่านเข้ามาในชีวิต ล้วนเป็นแรงบันดาลใจ แต่ละคนมีข้อดีข้อเสีย แต่เราเอาข้อดีของเขามาใช้ ตอนแรกอาจไม่ชอบ มีเป็นธรรมดาทุกคน แต่เมื่อเราดึงข้อดีของเขามาใช้ มันจะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของเรา และส่งต่อสิ่งดี ๆ ไปให้ผู้อื่น

โยมพ่อเป็นคนที่มีสัจจะ เป็นบุคคลที่อยู่ในใจเราเสมอ เราจึงดำเนินชีวิตด้วยสัจจะ รักษาสัญญา ทุกสิ่งคือความจริงที่เราจะต้องพบ อย่างที่คุณคามินเคยพูดอยตลอด ทั้งปรมัตสัจจะ สมมุติสัจจะ ซึ่งถ้าเราเคารพความจริง เราก็จะได้ความจริง

 

 

 

Published on Apr 09, 2013 at 10:56 pm.Filled under: Interview | No Comments |
Postman Cheval’s Ideal Palace

Ferdinand Cheval
1836-1924
France

www.facteurcheval.com

Read the full post

Published on Oct 28, 2009 at 2:54 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Postman Cheval’s Ideal Palace

Ferdinand Cheval
1836-1924
France

www.facteurcheval.com

Read the full post

Published on Dec 25, 2012 at 1:26 am.Filled under: News | No Comments |
Professor Bob Peters Published on Oct 14, 2011 at 9:22 pm.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
P’ Mew

P’ Mew
Norapat Sakartornsup
Length: 5.14 minutes
พี่มิว
นายนรภัทร ศักดิ์อาธรทรัพย์
ความยาว: 5.14 นาที

 

I have been studying and living in the university for 4 years, the cooperative store is where I buy stationeries, food or even snacks and water. Every time I will meet a reddish-golden longhaired woman that would always give me a smile when I’m cashing out. I feel happy and full of good memories whenever I meet her. All these 4 years, I’ve never came to know her name but have always greeted her when we met both in and out of the store, and every time she would greet me ‘Hello, Ball’. She’d never asked my name, but remembered it when she heard my friends called me. This shot film isn’t just documenting a beautiful impressive memory, but it’s a working art that allows me to speak and know her better than just casual greetings between server and customer. From this, I’ve learned her name as ‘Mew’, which was something I’ve wanted to know all along but dare not ask.

ข้าพเจ้าใช้ชีวิตที่มหาวิทยาลัยมาเป็นเวลา 4 ปี สหกรณ์เป็นสถานที่ที่ข้าพเจ้าจะต้องเข้าไปซื้ออุปกรณ์เครื่องเขียน อาหาร หรือแม้แต่ขนมขบเคี้ยวและนํ้าเปล่า ทุกๆครั้งที่ข้าพเจ้าได้เข้าไปซื้อของเหล่านี้ ข้าพเจ้าจะพบกับผู้หญิงผมยาวสีแดงประกายทอง ที่มักจะยิ้มให้ข้าพเจ้าทุกๆครั้งเวลาที่ข้าพเจ้าจ่ายเงิน ข้าพเจ้ามีความสุขและความทรงจำที่ดีทุกครั้งที่ได้เจอหน้าพี่คนนี้ ตลอดระยะเวลา 4 ปีมานี้ ข้าพเจ้าไม่ทราบชื่อพี่คนนี้มาก่อนเลย แต่ในทุก ๆ ครั้งข้าพเจ้าจะสวัสดีพี่เขาทุกครั้งที่เจอกัน ไม่ว่าจะในหรือนอกสหกรณ์ และทุก ๆ ครั้งพี่เขาจะกล่าวคำว่า “สวัสดีคะ น้องบอล” เสมอ ๆ ซึ่งพี่เขาไม่เคยถามชื่อของข้าพเจ้าเลย แต่จำเอาจากการที่เพื่อนๆเรียกข้าพเจ้าเวลาที่อยู่ในสหกรณ์ ซึ่งการทำผลงานภาพยนต์สั้นในครั้งนี้ สิ่งที่ข้าพเจ้าได้รับมิใช่เป็นเพียงการบันทึกเรื่องราวแห่งความประทับใจ หรือความทรงจำอันแสนสวยงามเพียงเท่านั้น แต่หากเป็นการทำงานศิลปะที่ทำให้ข้าพเจ้าได้ทำความรู้จักและพูดคุยกันมากขึ้น มากกว่าการกล่าวสวัสดีในฐานะลูกค้าและผู้ให้บริการ และด้วยการทำงานในครั้งนี้ จึงทำให้ข้าพเจ้าได้ทราบว่าชื่อเล่นของพี่เขานั้นคือพี่มิวซึ่งเป็นสิ่งที่ข้าพเจ้าอยากทราบมาตลอด แต่ไม่สามารถกล่าวถามออกมาได้แบบตรง ๆ

 

Published on Apr 09, 2013 at 1:36 am.Filled under: Short Film | No Comments |
Rebecca Hernandez Published on Sep 20, 2011 at 1:09 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Reef

The person who inspire me is P.Ramlee, he’s from the 60s film-maker and a very good songwriter, composer, director and actor. For me, he’s an all in one artist, my inspiration. He’s already dead. His beautiful music and movies are evergreen, inspiring me to be like him, practically.

He’s born in Malaysia, in Penang. Then in early 60s, he moved to Singapore and worked as assistant director, mainly to Indian directors. Slowly he became the director. He’s very talented.

 

คนที่เป็นแรงบันดาลใจผมคือ P. Ramlee เป็นคนทำหนังจากยุค 60 เป็นนักแต่งเพลง แต่งทำนอง ผู้กำกับ นักแสดง เขาคือศิลปินทำได้ทุกอย่างในหนึ่งเดียวสำหรับผม คือแรงบันดาลใจของผม เขาเสียชีวิตแล้ว เพลงที่ไพเราะของเขา กับหนังที่สวยงามของเขา มันชั่วนิรันดร์ และบันดาลใจผมให้เป็นอย่างเขา ก็ว่าได้

เขาเกิดที่มาเลเซีย ที่ปีนังและต่อมาตอนต้นยุค 60 เขาย้ายไปอยู่สิงคโปร์เขาทำงานเป็นผู้ช่วยผู้กำกับหลัก ๆ ให้กับผู้กำกับชาวอินเดีย และช้า ๆ ต่อมา เขาก็กลายมาเป็นผู้กำกับเอง เขามีความสามารถมาก

 

Published on Apr 10, 2013 at 12:05 am.Filled under: Interview | No Comments |
Regina Chan

I’m a Catholic, I believe in God. Religion has been very important for me; it has helped me see through a lot of difficulties. Another way that helped me understand life better is art. My mother is also an inspiration; she has been helping me to see a lot of good values. I don’t think I can be the person I am without her love and kindness.

 

ฉันเป็นแคธอลิค ฉันเชื่อในพระเจ้า ศาสนาคือสิ่งสำคัญสำหรับฉันเสมอมา มันได้ช่วยให้ฉันผ่านช่วงยากลำบากมามากมาย อีกวิธีที่ทำให้ฉันเข้าใจชีวิตได้ดีขึ้นก็คือศิลปะ แม่ของฉันก็เป็นแรงบันดาลใจของฉันเช่นกัน เธอช่วยทำให้ฉันรู้ถึงคุณค่าความดีมากมาย ฉันคิดว่าฉันคงไม่สามารถเป็นอย่างที่เป็นอยู่ได้ หากปราศจากความรัก ความเมตตาของเธอ

 

Published on Feb 07, 2014 at 4:40 am.Filled under: Interview | No Comments |
Room of Beyond


Galileo Galilei
(commonly known as Galileo, 1564 – 1642 A.D.)

Read the full post

Published on Apr 19, 2011 at 8:43 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Shall We Dance

Artist: Rirkrit Tiravanija
ศิลปิน: ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช

Read the full post

Published on Apr 12, 2011 at 2:03 am.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Shoko Kanazawa Published on Dec 23, 2016 at 2:20 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
Sky and Light Loyenda

Sky and Light Loyenda
Samart Suwannarat
Length: 7 minutes
ท้องฟ้า และแสงสว่าง โลเยนดา
สามารถ สุวรรณรัตน์
ความยาว: 7 นาที

 

I met Loyenda on the side of the street. I was attracted by the flowing of his yellow flag imprinted with a Dharma wheel and his strange looking bicycle that paddles with hands instead of feet. Many were impressed with this handicapped foreigner riding a peculiar devised bicycle. For me, this elderly Dutch man is a friend, an artist, a Raw-food campaigner activist, but much more than this, he is a spiritual true friend. Our conversations trigger me to think about being human, how one insignificant human being is linked to all life and the universe in such gentle manner. “I feel that I had once appeared here, in Thailand, here as one and here to help fulfill others.” For the sky is one, no matter where you are looking at it on earth. Just as how the light in each person exchanges, connect and inspire one another with amity.

ผมพบโลเยนดา ที่ริมถนน สะดุดตาด้วยธงสีเหลืองพิมพ์ลายธรรมจักรปลิวไสว กับจักรยานหน้าตาแปลก ๆ ที่ใช้มือโยกแทนเท้าถีบ หลายคนประทับใจภาพแรกที่เห็นชายพิการชาวต่างประเทศ ปั่นจักรยานประดิษฏ์หน้าตาแปลกแปล่ง สำหรับผมชายสูงวัยชาวฮอลแลนด์คนนี้ คือเพื่อน ศิลปิน นักรณรงค์การกินอาหารปราศจากการปรุงสุก (Raw food) และมากไปกว่านั้น เขาคือกัลญาณมิตรทางจิตวิญญาญ บทสนทนาระหว่างกันทำให้ผมฉุกคิด ถึงการเป็นของมนุษย์ มนุษย์ตัวเล็ก ๆ ที่เชื่อมโยงถึงสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย และจักรวาลอย่างอ่อนโยน “ผมรู้สึกว่าตัวเองเคยปรากฎอยู่ที่นี่ เมืองไทย อยู่ที่นี่ เป็นหนึ่งเดียว และเพื่อช่วยเหลือเติมเต็มกับผู้คน” เพราะเชื่อว่าท้องฟ้าคือผืนแผ่นเดียวกัน ไม่ว่ามองจากมุมไหนของโลก เฉกเช่นเดียวกับแสงสว่างในผู้คนที่สามารถแลกเปลี่ยน เชื่อมโยง และบันดาลใจซึ่งกันได้ ด้วยมิตรภาพ

 

Published on Apr 08, 2013 at 11:05 pm.Filled under: Short Film | No Comments |
T-shirt Published on Apr 08, 2011 at 10:57 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
T.Saravana Kumar

My dad is very inspiring for me. He is a very hard worker and he helps people.

 

พ่อของผมเป็นคนที่เป็นแรงบันดาลใจอย่างมากสำหรับผม เขาทำงานหนักและช่วยเหลือผู้คน

 

Published on Feb 07, 2014 at 4:49 am.Filled under: Interview | No Comments |
Taring Padi

Group Artist:  Taring Padi
Yogyakarta, Indonesia

Read the full post

Published on Apr 18, 2011 at 9:11 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Tea Room & Movie room Published on Apr 19, 2011 at 9:16 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Teung

Teung
Chitpapat Batprakhon
Length: 5.44 minutes
เติง
จิตต์ปภัสสร์ บัตรประโคน
ความยาว: 5.44 นาที

 

This short film is Teung’s interview. He lives with cerebral palsy and stay at home more than 20 years. His life showed the daily life happiness we neglected. If we can make our bodies small, the chance to find happiness is very simple. It is almost impossible not to find some happiness. We can even have more happiness to share to other people, like Teung, who wants to see other disabled people to step out of home, make new friends and be happy, too.

ความพิการของเติงทำให้ร่างกายมีไม่เท่าคนอื่นแต่ไม่ได้ทำให้มีความสุขน้อยกว่าใคร เติงทำให้เห็น ความสุขจากสิ่งที่ไม่เคยสังเกตว่า ความสุขอยู่ที่นั่นได้แค่การลุกขึ้นนั่ง ออกจากบ้าน ไปไหนมาไหน มีเพื่อนมีความปรารถนาและมีความฝัน ยิ่งในชีวิตที่หาความสุขได้ยากขึ้น การลดตัวให้เหลือน้อยลงบ้าง สุขใจกับเรื่องเล็ก ยินดีกับเรื่องธรรมดา จะช่วยเปลี่ยนความยากให้เป็นความง่ายเอง เมื่อเพิ่มพูนมากขึ้นย่อมเหลือมากเพียงพอส่งต่อและ แบ่งปันแก่คนอื่นเหมือนที่เติงอยากให้คนพิการออกจากบ้าน มีเพื่อนและมีความสุขเช่นเดียวกับเขา

 

Published on Apr 09, 2013 at 4:53 am.Filled under: Short Film | No Comments |
The blessing card

Artist: Ajan Lin  (Sornchai Tangbutrawong)
ศิลปิน: อาจารย์หลิน (ศรชัย ตั้งบุตราวงศ์)

Read the full post

Published on Apr 18, 2011 at 8:47 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
The Contended Man

The Contended Man
Jin Ruangkriengsin
Thanawat Patanaprasart
Natdanai Chutipabhakorn
Length: 9.49 minutes
The Contended Man
จิณณ์ เรื่องเกรียงสิน
ธนวัด พัธระประสาท
ณัฐดนัย ชุติปภากร
ความยาว: 9.49 นาที

 

The concept of this shot film is the life of Pakapol Kulaphichit who is currently an undergraduate student at Chulalongkorn University. Natdanai chooses this person to be portrayed in this shot film because of after meeting Pakapol for the first time when they started studying together, he was profoundly motivated by Pakapol’s academic excellence and simplistic lifestyle. The content of the shot film mainly show how Pakapol lives his daily life at the university. The first part deals with the ways he manages his time dealing with academic subjects and how he helps his friends. The second and third part depicts his way of contentedly spend his money on food and transportation. Throughout the video, Pakapol gives his opinion on how he feels happy about the lifestyle he has.

เนื้อหาของภาพยนต์สั้นนี้บอกเล่าถึงชีวิตของ ภคพล กุลพิจิตร ซึ่งขณะนี้กำลังศึกษาอยู่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เหตุที่ ณัฐดนัย ได้เลือกบุคคลผู้นี้เป็นจุดหลักของเรื่องเพราะ ทั้งสองพบกันครั้งแรกและเรียนมาด้วยกัน ณัฐดนัยได้รับแรงบันดาลใจอย่างมากจากการเรียนและวิถีชีวิตอันเรียบง่ายของ ภคพล เนื้อเรื่องหลักของภาพยนต์สั้น เรื่องนี้แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตที่ ภคพล ใช้ในรั้วมหาวิทยาลัย ส่วนแรกของเรื่องพูดถึงวิธีการเรียนและการช่วยเหลือเพื่อน ๆ ของเขา ส่วนที่สองและสาม เล่าถึงวิธีการใช้เงินอย่างพอเพียงในด้านการกินและการเดินทาง ตลอดทั้งเรื่อง ภคพลจะแสดงความคิดเห็นของเขาเกี่ยวกับความสุขที่เขาได้ใช้ชีวิตเช่นนี้

 

Published on Apr 09, 2013 at 1:28 am.Filled under: Short Film | No Comments |
The Exhibition opening day of 31st Century Museum of Contemporary Spirit (Laboratory) @ Chicago

In Sullivan Galleries, School of the art institute of Chicago. Sept 9th – Dec 23 2011.

Read the full post

Published on Sep 20, 2011 at 3:06 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
The Giving Pledge

คนรวยใจบุญ

The Giving Pledge

WARREN BUFFETT and BILL GATES

http://givingpledge.org

Read the full post

Published on Aug 21, 2010 at 3:10 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
The Giving Pledge

คนรวยใจบุญ

The Giving Pledge

WARREN BUFFETT and BILL GATES

http://givingpledge.org

Read the full post

Published on Dec 27, 2012 at 1:20 am.Filled under: News | No Comments |
The Land Foundation Published on Jun 25, 2009 at 11:03 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
The Land Foundation Published on Dec 26, 2012 at 8:40 pm.Filled under: News | No Comments |
The Most Inspiring Person

The Most Inspiring Person
Angie Seah
Length: 1.21 minutes
 

 

The most inspiring person I know is of course my father, because he is a man who know what he wants and at the same time is always trying to help others. My father is a butcher. He told me ‘even if you’re a girl, don’t be afraid to be dirty. Do things with your hands and never be afraid of hard work’. He’s always very ‘proud and loud’, proud of his own achievement and loud because he enjoys laughing. My father always tells me that we must use our hands to do things and never forget where we come from.

คนที่น่าทึ่งที่สุดแน่นอนคือพ่อของฉัน เพราะเขาคือคนที่รู้ว่าตัวเองต้องการอะไรและในขณะเดียวกันก็คอยช่วยเหลือผู้อื่นอยู่เสมอ พ่อของฉันเป็นพ่อค้าเขียงเนื้อ เขาบอกฉันว่า ถึงแม้เราจะเป็นผู้หญิง แต่ก็อย่ากลัวที่จะสกปรก ลงมือทำด้วยมือและอย่ากลัวงานหนัก เขาเป็นคน ‘ภาคภูมิและเสียงดัง’ เสมอ เขาภาคภูมิใจในความสำเร็จของตัวเอง และเสียงดังเพราะเขาเพลิดเพลินที่จะหัวเราะ พ่อฉันบอกฉันเสมอว่า เราต้องใช้มือของเราทำสิ่งต่างๆและอย่าลืมว่าเรามาจากไหน

 

Published on Feb 07, 2014 at 9:40 pm.Filled under: Short Film | No Comments |
The One Who Motivates Me

The One Who Motivates Me
I-na Phuyuthanon
Length: 5.22 minutes
บุคคลที่ประทับใจ
อัยนา ภูทุทธานนท์
ความยาว: 5.22 นาที

 

The incident in the three southern border provinces (Pattani, Yala and Narathiwat Provinces) has affected all aspects, whether they are economic, social spheres of people and eventually the way of life. As a result, the areas have become the sensitive zone and are consequently placed under the strict surveillance of the government. Although various parties involved have tried to solve the problems continuously in terms of the ability of personnel in and outside areas along with the spending of enormous budget, however these attempts have not made the loss become less. On the contrary, the violence has intensified in every moment, causing the loss of life and property as well as the economic ruin and shaky stability until becoming national issues.

The origin of problems has existed since a long period of time. The real causes and the appropriate method of solving the problems for existence of the population who live in the areas have not clearly been known. Innocent people, government officials of different parties as well as the groups who apply violence have been involved in countless casualties, hence causing the paranoid suspicion in the daily living of those who remain alive in such areas. These events have been presented as report with the specification of target as civilians with inability to realize who may be the next victims. The forms of violence have been developed with even more brutality. The government has implemented the policy of response to the said violence by the dispatch of military, police forces and officials to control the areas at full capacity. The checkpoints for interception have been set up in rural remote areas, villages, subdistricts, including districts. But the consequences reveal that no matter they are military, police officers or officials, they have been ambushed and brutally murdered with no exception of even one day. People have been all affected. These issues are hot topics, which are well known around the world as the unrest in the three southern border provinces.

At the same time, the individuals have come together to work with no thought of escaping from the areas of turmoil to protect their own homeland for survival just because of the task that involves the responsibility and the conscious mind of love for homeland for the sake of people with willingness to live in the areas without going away. The person to be referred to is the father who lives in the area. This person is exemplary, impressive. That person always keeps encouraging everybody and is the only one who is my inspiration.

จากเหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส) ส่งผลกระทบไปทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคมของประชาชน และท้ายที่สุด ต่อวิถีชีวิต ส่งผลให้กลายเป็นพื้นที่อ่อนไหว จึงอยู่ในการเฝ้าระวังของรัฐบาลอย่างเข้มงวด แม้ว่าผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายพยายามแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านความสามารถของบุคคลากรในพื้นที่ นอกพื้นที่ และการทุ่มงบประมาณมหาศาล แต่ก็ยังไม่ทำให้ความสูญเสียนั้นลดน้อยลงไป กลับทวีความรุนแรงขึ้นทุกขณะ สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินตลอดจนเศรษฐกิจที่ย่อยยับและความมั่นคง จนกลายเป็นปัญหาระดับชาติ ซึ่งมีสาเหตุมายาวนาน ไม่เป็นที่ทราบอย่างแน่ชัดว่าที่จริงแล้วเกิดจากสิ่งใด วิธีแก้ปัญหาควรเป็นเช่นไร เพื่อการดำรงอยู่ของประชากรผู้ซึ่งอาศัยอยู่ในพื้นที่ ประชาชนผู้บริสุทธิ์ เจ้าหน้าที่รัฐฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งกลุ่มผู้ซึ่งใช้ความรุนแรง ก็บาดเจ็บล้มตายไปแล้วนับไม่ถ้วน ทำให้ต้องสูญเสียการดำเนินชีวิตในแต่วันอย่างหวาดระแวงของผู้ที่ยังคงเหลืออยู่ในพื้นที่นั้นและเหตุการณ์นี้ก็ยังถูกนำเสนอเป็นรายวัน มีเป้าหมายเป็นพลเรือน ซึ่งไม่อาจรับรู้ได้ว่ารายต่อไปจะเป็นใคร มีการพัฒนารูปแบบของความโหดเหี้ยมมากยิ่งขึ้น ซึ่งรัฐบาลได้มีนโบายการตอบโต้ความรุนแรงนั้นโดยการนำกองกำลังทหาร ตำรวจและเจ้าหน้าที่เข้าไปควบคุมดูแลพื้นที่อย่างเต็มกำลังความสามารถ มีการตั้งด่านสกัดทั้งในชนบทถิ่นกันดาร หมู่บ้าน ไปจนถึงในตัวอำเภอเมือง แต่ผลตอบรับที่ได้รับคือ ไม่ว่าจะเป็นตำรวจ ทหารหรือเจ้าหน้าที่กลับถูกลอบทำร้ายและถูกสังหารอย่างโหดเหี้ยมไม่เว้นแต่ละวัน ล้วนแล้วแต่ได้รับผลกระทบทั้งสิ้น ซึ่งเป็นประเด็นร้อนที่รู้จักกันทั่วโลก ในนามของเหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในขณะเดียวกันนั้น บุคคลที่ได้ร่วมใจกันปฏิบัติหน้าที่กันอย่างไม่คิดจะหนีจากพื้นที่ๆ เกิดเหตุการณ์อยู่เสมอ เพียงเพื่อที่จะปกป้องพื้นที่บ้านเกิดของตนให้อยู่รอด เพียงเพราะหน้าที่การงานที่จะต้องรับผิดชอบ และสำนึกในการรักบ้านเกิดเพื่อประชาชนแล้ว ยอมที่จะอยู่ในพื้นที่เช่นนี้อย่างไม่หนีหาย ซึ่งบุคคลที่จะกล่าวถึงนี้คือ บิดา เป็นบุคคลที่ใช้ชีวิตในพื้นที่ เป็นบุคคลตัวอย่าง เป็นบุคคลที่ประทับใจ เป็นบุคคลที่ให้กำลังใจแก่ทุกคนอยู่เสมอ และเป็นบุคคลเดียวที่เป็นแรงบันดาลใจให้กับข้าพเจ้า

 

Published on Apr 09, 2013 at 4:42 am.Filled under: Short Film | No Comments |
The Rebel Bank Note

ธนบัตรขัดขืน
www.5thpillar.org

Read the full post

Published on May 09, 2010 at 8:23 pm.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
The sartorialist, Scott Schuman Published on Aug 14, 2012 at 10:52 pm.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
The sartorialist, Scott Schuman

www.thesartorialist.com

Language : ENGLISH : THAI

Scott Schuman

ผมไปเห็นหนังสือแฟชั่นเล่มหนึ่งที่บ้านเพื่อน ผมหยิบมาดูเล่น ตอนแรกก็นึกว่าเป็นหนังสือแฟชั่นธรรมดา พอได้พลิกอ่านแต่ละหน้าก็เริ่มเข้าใจว่าเขาต้องการจะสื่ออะไร เขาเป็นช่างภาพที่ตกงาน จึงออกตระเวนถ่ายภาพคนบนถนนที่เขาเห็นว่ามีสุนทรียภาพในการแต่งกาย เขาไม่เลือกชนชั้น อายุ หรืออาชีพ ถ้าเขาเห็นว่ามันสวย มันได้อารมณ์ เขาก็จะถ่ายเก็บไว้และถ่ายไปเรื่อยอย่างนี้ทุกวัน และโพสต์ในเว็บบล๊อกของเขา

ผมคิดว่าด้วยวิธีการนี้เป็นการสนับสนุนและเปิดโอกาสให้เรามีเสรีภาพในการเลือกสุนทรียศาสตร์ที่เรากำหนดเองตามคุณค่าเฉพาะตัว ที่ไม่เน้นตามยี่ห้อดัง หรือกระแสอะไรเป็นหลัก เขาถ่ายทอดคุณค่าของการเคารพในความงามของบุคคลนั้นๆ ไม่ว่าถ้าคุณเป็นแม่บ้านหรือช่างทาสี แล้วแต่งตัวแบบนี้ก็เป็นความงามตามแบบของคุณ เขาเคารพสุนทรียศาสตร์ในความเป็นตัวตนของแต่ละคน ไม่เลือกสถานะหรือรูปร่างหน้าตา แต่เป็นความงดงามที่สัมพันธ์กับบุคคลิกภาพและเอกลักษณ์ของแต่ละคน

ถ้าเราทำให้โลกเปลี่ยนค่านิยมของ aestheticได้ เราก็สามารถเปลี่ยนค่านิยมด้านอื่นๆของสังคมได้เช่นกัน มันคือการนำเอาคุณค่าของความงดงามในความเป็นมนุษย์ที่แสดงออกถึงอิสระภาพและความภาคภูมิใจในตัวเอง โดยผ่านเสรีภาพในการแต่งกายของวิถีประจำวัน มันไม่ใช่ fashion แต่มันเป็น life

Published on Dec 27, 2012 at 3:15 am.Filled under: News | No Comments |
The Story of Sudawadee Norapoompipat

The Story of Sudawadee Norapoompipat
Apipar Norapoompipat
Watsamon Tri-yasakda
Length: 11.25 minutes
เรื่องราวของสุดาวดี นรภูมิพิภัชน์
อภิภา นรภูมิพิภัชน์
วรรษมน ไตรยศักดา
ความยาว: 11.25 นาที

 

Originally from Phuket, my grandmother married my grandfather (a non-corrupted police officer) when she was around 19, my grandfather was probably in his 30s or 40s. She was a simple local girl and my grandfather’s family never accepted her. During that time, government officers were highly respected, however since my grandfather wasn’t corrupted, there wasn’t enough money to feed 5 kids and themselves, so my grandmother had to work meager jobs like folding bags and selling food, an act that completely tarnished the ‘image’ of government officers during that time. Not only was there not enough money for the family, my grandfather also became an alcoholic after being introduced to alcohol in the battle of the south. Therefore there was violence in the house and not enough money to be paid for the children’s education. My grandmother then had to earn money some way behind my grandfather’s back, which was by borrowing money from businessmen. In the end, she wasn’t able to pay back the loans and almost ended up killing herself with my grandfather’s pistol. This was when the children understood how poor they were and thus became very independent and hardworking.

Once my grandmother reached the age of retirement (around 20 years ago), and when everyone believed that she was able to rest from all her hard work, an accident occurred–a blood vessel in her brain burst due to her accumulated stress. With the technology being very limited during those times, she became mentally and physically disabled. However, even with these disabilities, she is one of the happiest people I’ve ever know–she always laughed at every opportunity and still tried her hardest to take care of her children and grandchildren.

Currently, my grandmother is bedridden from a recent broken leg, yet she still appreciates and laughs at the small things in life. She has gone through so much pain and suffering but has kept herself optimistic and strength.

ยายของฉัน ซึ่งเป็นคนภูเก็ต ได้แต่งงานกับปู่ (ข้าราชการที่ไม่โกงกิน) ตอนอายุได้ 19 ปี ในขณะที่ปู่อายุประมาณ 30 – 40 ปี ยายเป็นเด็กสาวบ้านนอก ครอบครัวของปู่จึงไม่เคยยอมรับเธอ ในช่วงเวลานั้น การรับราชการเป็นเรื่องที่มีเกียรติมาก แต่เนื่องจากปู่ไม่โกงกิน จึงมีความลำบากในการหาเลี้ยงลูกทั้งห้าคนและตัวพวกเขาเอง ยายจึงรับจ้างรายได้น้อย เช่น พับถุง ขายกับข้าว เป็นการกระทำที่เสื่อมเสียต่อภาพลักษณ์ความเป็นราชการอย่างมาก ไม่เพียงว่ามีเงินไม่พอใช้จ่ายในคริบครัว แต่ต่อมาปู่ยังติดเหล้าหลังจากที่เริ่มดื่มในสนามสงครามภาคใต้ เริ่มมีการใช้ความรุนแรงในบ้าน และขาดเงินส่งลูก ๆ เรียนหนังสือ ยายจึงพยายามหาเงินลับหลังปู่ ซึ่งก็คือการไปยืมเงินจากนักธุรกิจ แต่ในที่สุดยายก็ไม่สามารถจ่ายหนี้สินได้ และเกือบฆ่าตัวตายด้วยปืนของปู่ ตอนนั้นเอง ที่ลูกๆเริ่มเข้าใจว่าพวกเขาฐานะยากจนเพียงใด จึงเริ่มกลายเป็นคนที่พึ่งพาตัวเองและทำงานหนักกัน

ช่วงที่ยายก้าวเข้าสู่วัยเกษียน (ประมาณ 20 ปีที่แล้ว) ตอนที่ทุกคนเชื่อว่ายายจะได้พักจากการทำงานหนักทั้งปวง ก็เกิดอุบัติเหตุขึ้น เส้นเลือดสมองของยายแตกเนื่องจากความเครียดสะสม และเพราะข้อจำกัดทางเทคโนโลยีการแพทย์ในสมัยนั้น เธอจึงพิการด้านจิตและร่างกาย แต่แม้ว่ายายจะมีข้อจำกัดเหล่านี้ ยายก็ยังคงเป็นคนที่มีความสุขมากที่สุดที่ฉันรู้จัก ยายจะหัวเราะเสมอ และพยายามดูแลลูก ๆ และหลานๆอย่างไม่ลดละ

ทุกวันนี้ ยายนอนป่วยอยู่ในเตียงหลังจากขาหักเมื่อไม่นานมานี้ แต่ยายก็ยังเห็นคุณค่าและหัวเราะกับสิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ในชีวิต ยายได้ผ่านความลำบากและความทุกข์มามาก แต่ได้รักษาการมองโลกในแง่ดีและความเข้มแข็งไว้ได้เสมอมา

 

Published on Apr 09, 2013 at 1:53 am.Filled under: Short Film | No Comments |
There’s no one in the world that can’t play the piano.

There’s no one in the world that can’t play the piano.
Aimvipa Tapanakornvut
Length: 9.55 minutes
ไม่มีใครในโลกที่เล่นเปียโนไม่ได้
เอมวิภา ฐาปนากรวุฒิ
ความยาว: 9.55 นาที

 

“There’s no one in the world that can’t play the piano.’ Though just a short phrase and sounds impossible, because no one is born with the same opportunities and talents, but Treerat Uppatumpotiwat, a piano teacher has proven that everyone can play the piano. Every one here including children, adults, elderly and also the physically and mentally challenged; like the autistics and handicapped. Despite their social classes and talents, this teacher is ready to give ‘everyone’ a chance to be happy in playing the piano along with developing their body and mind. He has unconventional thoughts, eccentric and daring to do what others dare not to. Un-doubtfully, allowing ‘everyone’ able to play the piano.

“ไม่มีใครในโลกเล่นเปียโนไม่ได้” แม้เป็นเพียงคำสั้นๆและยากที่จะเป็นจริงได้ เพราะทุกคนไม่ได้เกิดมามีโอกาสและความสามารถที่เท่าเทียมกัน แต่อาจารย์ตรีรัตน์ อุปถัมภ์โพธิวัฒน์ ได้พิสูจน์แล้วว่าทุกคนสามารถเล่นเปียโนได้จริง ทุกคนในที่นี้ หมายถึงเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ และรวมไปถึงผู้ที่มีความบกพร่องทั้งร่างกายและจิตใจ ตั้งแต่ผู้ที่เป็นออทิสติก รวมไปถึงผู้พิการ เรียกได้ว่า “ทุกคน” ไม่มีการแบ่งชนชั้น วรรณะ และความสามารถ อาจารย์ท่านนี้พร้อมจะให้โอกาสกับ “ทุกคน” ได้มีความสุขกับการเล่นเปียโนควบคู่ไปกับการพัฒนาทั้งทางร่างกายและจิตใจไปในทางที่ดีขึ้น ท่านได้คิดออกนอกกรอบ แหกกฏ แหกคอก กล้าทำในสิ่งที่คนอื่นไม่กล้าที่จะลงมือทำ จนทำให้ “ทุกคน” สามารถเล่นเปียโนได้อย่างไม่มีข้อสงสัย

 

Published on Apr 09, 2013 at 4:16 am.Filled under: Short Film | No Comments |
Ting

Professor Pramuan Pengchan is my inspiration. He has never taught, never spoken in words of how I should live my life. Instead, he showed me by his action, he exhibited love for me to see without words. I felt, therefore I was free to choose ways to love others that suits me. Not just imitating his ways. Whenever I’m discouraged about how to love others, I will always remember the feelings and energy he gives out.

 

อาจารย์ประมวล เพ็งจันทร์เป็นแรงบันดาลใจในชีวิตเรา เพราะเขาไม่เคยสอน ไม่เคยพูดเป็นคำพูดว่าเราควรใช้ชีวิตอย่างไร แต่เขาทำให้ดู เขาแสดงถึงความรักให้เห็นโดยที่ไม่ต้องพูด เราจึงรู้สึกอิสระที่จะเลือกหนทางในการรักคนอื่นในแบบของเรา ไมใช่แค่ในแบบของอาจารย์ และทุกครั้งที่เราท้อว่าเราจะรักคนอื่นอย่างไร ก็จะนึกถึงอารมณ์และพลังงานที่เขาให้ออกมา

 

Published on Apr 10, 2013 at 12:08 am.Filled under: Interview | No Comments |
Unique

Unique
Cherry Pongprajjakkul
Thanakrit Srisuwan
Thanyathorn Tangsongcharoen
Length: 6.39 minutes
Unique
เชอรี่ พงศ์ประจักษ์กุล
ธนกฤษณ์ ศรีสุวรรณ
ธันยธรณ์ ตั้งทรงเจริญ
ความยาว: 6.39 นาที

 

Supasit Meeprasert, Aum, has inspired us with his lifestyle. He lives his life freely and simply. He believes in himself and does what he wants to do. If it is what he like, he never hesitates to do it. He will set up the goal and complete it right away. For example, when he wanted to be a Baduk champion, he focused on playing Baduk and never gave up even his family and his surroundings humiliated him. He did not care what others said and was ready to overcome any obstacle. His obstacle was never bigger than his goal. He practiced Baduk every single day and night. He did his best and finally became a Baduk master. He showed us that we do not have to do the same way like common people do. If you think like common people, you will be like one of them. The most successful people think in a different way, that is the reason they can success. Therefore, if you want to be another person who succeeds, be different.

สุภาษิต มีประเสริฐ หรือ อุ้ม เป็นแรงบันดาลใจแก้พวกเราในด้านการใช้ชีวิต เขาใช้ชีวิตของเขาอย่างอิสระและเรียบง่าย เขาเชื่อมั่นในตัวเองและทำในสิ่งที่อยากทำ ถ้ามันเป็นสิ่งที่เขาชอบแล้ว เขาก็จะไม่ลังเลที่จะทำ เขาจะตั้งเป้าหมายและลงมือทำทันที ยกตัวอย่างเมื่อครั้งที่เขาอยากเป็นแชมป์หมากล้อม เขาก็มุ่งความสนใจแค่การเล่นหมากล้อมและไม่เคยท้อถอยถึงแม้ว่าครอบครัวและคนรอบข้างคอยเย้ยหยันเขาก็ตาม เขาไม่สนใจในสิ่งที่ผู้อื่นพูดและพร้อมที่จะก้าวข้ามอุปสรรคใด ๆ ก็ตาม อุปสรรคนั้นไม่เคยใหญ่เกินเป้าหมายของเขา เขาซ้อมหมากล้อมทุกวันคืน พยายามอย่างเต็มที่จนสุดท้ายได้กลายเป็นเซียนหมากล้อม เขาแสดงให้เราเห็นว่า เราไม่จำเป็นต้องทำอะไรให้เหมือนที่คนธรรมดาเขาทำกัน หากเราคิดเหมือนคนธรรมดา เราก็จะเป็นคนธรรมดา คนที่ประสบความสำเร็จที่สุด คือคนที่คิดต่างออกไป นั่นคือเหตุที่เขาประสบความสำเร็จ ดังนั้น หากคุณอยากเป็นอีกคนที่ประสบความสำเร็จ จงแตกต่าง

 

Published on Apr 09, 2013 at 2:03 am.Filled under: Short Film | No Comments |
Vipash Purichanont Published on Sep 20, 2011 at 1:11 am.Filled under: 31 century museum in Chicago | No Comments |
Workshop for SB14: Perception Itself Is Action

Initiated by the 31st Century Museum of Contemporary Spirit (https://31century.org), a participating project of SB14, this three-day workshop invites members of the community to learn, enquire and seek to understand the origin of the creative energy of the inner mind. They will share firsthand experiences or secondhand knowledge of events in society that have contributed to the ‘love quotient’ (LQ). Through the shared learning process, participants will understand the meaning and inspiration behind LQ as spiritual intelligence, which can be measured by simple acts of selflessness, kindness and communal love. The collected narratives from the workshop, along with their visual supplements, will be compiled into an e-book and exhibited as part of SB14.

 

 

More Information http://sharjahart.org/sharjah-art-foundation/events/sb14-perception-itself-is-action

Published on Jan 30, 2019 at 11:25 pm.Filled under: Activities | No Comments |
Zack Razak

I use to have a lot of people that influenced or inspired me, mostly from books. But recently when I read into religion, I’m now inspired by the Koran, by the words from God and also from the practice of the Prophet Muhammad, because that has helped me think a lot about the meaning of art, rather than the reference from the western history. I think art is about how you live life and how you raise your child, which is also an art. After the book of God, after the Prophet would be my parents and my family.

 

เมื่อก่อนผมมักจะได้แรงบันดาลใจจากคนต่างๆ ซึ่งส่วนมากผมอ่านมาจากหนังสือ แต่ระยะหลังเมื่อผมอ่านหนังสือในศาสนา ผมได้รับแรงบันดาลใจจากคุมภีร์คูรอาน จากคำพูดของพระเจ้า และจากท่านมูฮาหมัด เพราะทั้งหมดนี้ได้ช่วยทำให้ผมคิดถึงความหมายของศิลปะ แทนทีจะอ้างอิงจากประวัติศาสตร์ตะวันตก ผมคิดว่าศิลปะคือวิธีที่คุณใช้ชีวิตและวิธีที่คุณเลี้ยงลูก ซึ่งลูกก็เป็นศิลปะอย่างหนึ่ง หากถัดมาจากหนังสือของพระเจ้าและท่านมูฮาหมัด ก็คงเป็นพ่อแม่และครอบครัวของผม

 

Published on Feb 07, 2014 at 4:55 am.Filled under: Interview | No Comments |
Zen Flower Published on Apr 18, 2011 at 10:45 pm.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
Zhang Jun Jian

I like ‘One Direction’s song, because the song is very wonderful.

 

ผมชอบเพลงของวง One Direction เพราะเพลงเหล่านั้นวิเศษมาก

 

Published on Feb 07, 2014 at 5:02 am.Filled under: Interview | No Comments |
Zhang Jun Wei

My inspiration is Albert Einstein, he’s very clever and a famous scientist. His knowledge and cleverness inspires me, because I also want to be a great scientist.

 

แรงบันดาลใจของผมคือ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เขาฉลาดมากและเป็นนักวิทยาศาสตร์ชื่อดัง ความรู้และความฉลาดของเขาทำให้ผมมีแรงบันดาลใจเพราะผมก็อยากเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่เหมือนกัน

 

Published on Feb 07, 2014 at 5:13 am.Filled under: Interview | No Comments |
Zoncy

My grandfather is just a villager, who grows rice. I got inspiration from him especially in religion. For him, he is his religion, that’s what he told me. He does not follow an ideology; he doesn’t have a god, but tries to be himself. He sets his own discipline. I don’t live my life as he does, but I get inspiration in another way. I don’t know, I’m just exploring.

 

ปู่ของฉันป็นชาวบ้านธรรมดา เขาปลูกข้าว ฉันได้รับแรงบันดาลใจเป็นพิเศษจากเขาในด้านศาสนา สำหรับเขาแล้ว เขาคือศาสนาของเขาเอง เขาบอกฉันมาอย่างนี้ เขาไม่ทำตามอุดมคติใด ๆ เขาไม่มีพระเจ้า แต่พยายามเป็นตัวเอง วางระเบียบวินัยเอง ฉันไม่ได้ใช้ชีวิตตามเขา แต่ได้รับแรงบันดาลใจไปในอีกหนทางหนึ่ง ฉันก็ไม่รู้เหมือนกัน ฉันแค่ค้นหาไปในชีวิต

 

Published on Apr 10, 2013 at 12:11 am.Filled under: Interview | No Comments |
ขอเชิญร่วมแสดงงานนิทรรศการ

หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญร่วมแสดงงานนิทรรศการ ด้วยการเข้าร่วมผลิตหนังสั้นในหัวข้อ “บุคคลที่เราประทับใจหรือบุคคลที่ให้แรงบันดาลใจในการดำเนินชีวิต” เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของนิทรรศการศิลปะ “สภาวะที่ไร้ซึ่งการดำรงอยู่ได้ด้วยตัวมันเอง” (Non-Being By Itself)
โดยศิลปินที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ อาจารย์คามิน เลิศชัยประเสริฐ ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ ชั้น 7 ศูนย์วิทยทรัพยากร (หอสมุดกลาง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงการนี้เปิดโอกาสให้ผู้สนใจทั่วไปมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ทัศนคติการที่ได้รับแรงบันดาลใจ และความประทับใจจากบุคคลที่มีต่อท่าน (ผู้เข้าร่วมกิจกรรม) ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานหนังสั้น ซึ่งทั้งนี้ผลงานดังกล่าวจะนำมาร่วมแสดงกับผลงานของอาจารย์คามิน เลิศชัยประเสริฐ ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ และเดินทางไปแสดงต่อที่อื่นๆ

ผู้ที่สนใจสามารถเข้าร่วมกิจกรรมและรับฟังข้อมูลรายละเอียดจากอาจารย์คามิน เลิศชัยประเสริฐ ในวัน พฤหัสบดีที่ 24 มกราคม 2556
เวลา 13:30 – 15:30 น. ณ ห้องประชุมชั้น 7 ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการส่งจดหมายประสงค์ร่วมกิจกรรมผ่านอีเมล์ info.artcenterchula@gmail.com

การจัดกิจกรรมเป็นความร่วมมือกันระหว่างหอศิลปวิทยนิทรรศน์ และอาจารย์คามิน เลิศชัยประเสริฐ ซึ่งกิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ 31st Century Museum of Contemporary Spirit

(หมายเหตุ: ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมต้องมาร่วมรับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเงื่อนไขกิจกรรมในวันและเวลาตามข้างต้นด้วยตนเองเท่านั้น)



Invitation

The Art Center, Chulalongkorn University would like to invites all interested people to make short films with the theme of “the person who is the most impresses or inspires me” and participate in “Non-Being By Itself” exhibition by Kamin Lertchaiprasert, an internationally well-known artist, at The Art Center, Center of Academic Resources, Chulalongkorn University.

This project aims to encourage participants to express their thoughts and opinions about the impression or inspiration they have from other people. These thoughts and opinions will be translated into short films and will be exhibited alongside Kamin’s work at The Art Center and travel to other venues.

If you are interested, please email your name to info.artcenterchula@gmail.com and come to get all the details from the artist himself on Thursday January 24, 2013, 1.30-3.30 pm. at the auditorium room on the 7th floor of the Center of Academic Resources, Chulalongkorn University.

The project is a collaboration between The Art Center, Chulalongkorn University and Mr. Kamin Lertchaiprasert. It is part of the 31st Century Museum of Contemporary Spirit.

Note: Interested people are required to come to the meeting on the aforementioned date and time personally.

Published on Dec 16, 2012 at 9:46 pm.Filled under: News | No Comments |
คุณยายมหัศจรรย์กับการให้ไม่รู้จบ”จากรายการดูให้รู้

คุณยายฮาทสึเอะ ทามูระ

Read the full post

Published on Oct 01, 2018 at 3:52 am.Filled under: 31 century museum around the world Tags: | No Comments |
จากชั่วขณะหนึ่ง สู่ชั่วขณะหนึ่ง Published on Feb 19, 2017 at 10:51 pm.Filled under: News | No Comments |
ดาไล ลามะ Published on Dec 25, 2012 at 10:01 pm.Filled under: News | No Comments |
ทุกขณะมีรอยนิ้วมือของมันเอง Published on Feb 18, 2017 at 1:27 am.Filled under: News | No Comments |
ธนบัตรขัดขืน

ธนบัตรขัดขืน
www.5thpillar.org

Read the full post

Published on Dec 27, 2012 at 1:39 am.Filled under: News | No Comments |
ธรรมชาติไม่เคยเปลี่ยนแปลงเพราะการเปลี่ยนแปลงคือธรรมชาติ

Language : ENGLISH : THAI

 

ธรรมชาติไม่เคยเปลี่ยนแปลงเพราะการเปลี่ยนแปลงคือธรรมชาติ
คามิน เลิศชัยประเสริฐ
ความยาว: 42.37 นาที
 

 

สารคดีเรื่องนี้ถ่ายทำไว้เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2554 มันคือเรื่องราวชีวิตประจำวันของหญิงชราผู้หนึ่งนามว่า ยายสา เธออายุ 79 ปี ครั้งแรกที่พบเธอ ผมรู้สึกประทับใจในความสมถะและสันโดษ เธอใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายโดยการพึ่งตนเอง บ้านของเธออยู่ใกล้กับที่ทำงานของผม หลังจากที่สามีเสียชีวิต เธออาศัยอยู่คนเดียวเป็นเวลา 49 ปี เธอมีลูกชายสองคน ลูกชายคนโตเสียชีวิตนานมาแล้ว ตอนนี้ลูกชายคนเล็กเข้าไปทำงานและอาศัยอยู่ในเมือง และกลับมาเยี่ยมสัปดาห์ละครั้ง โดยใช้เวลาเพียงไม่กี่ชั่วโมงกับเธอ เธออยู่คนเดียวเพียงลำพัง…

ผมรู้สึกว่าวิถีชีวิตของคนในสังคมสมัยปัจจุบัน มีความเจริญทางวัตถุที่มุ่งเน้นแต่ความสุขทางกายภาพ คนรุ่นใหม่ต้องเข้าไปทำงานในเมืองใหญ่เพื่อทำงานเลี้ยงชีพ ทำให้วีถีชีวิตหรือครอบครัวแบบสังคมเกษตรกรรมดั้งเดิมได้เปลี่ยนแปลงไปทั่วโลก ผู้สูงอายุต้องอาศัยอยู่คนเดียวและดูแลตัวเอง จากการได้สนทนากับเธอ ทำให้ผมรู้สึกเข้าใจสัจธรรมที่ว่า เราทุกคนเกิดมาคนเดียวจากความว่างเปล่า เมื่อตายก็ตายคนเดียวไปสู่ความว่างเปล่า สิ่งนี้เป็นวิถีธรรมชาติที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลง

ผมเคยถามเธอว่า “อยู่คนเดียว กลัวตายไหม”
เธอตอบว่า “ตายก็ไม่กลัว อยู่ก็ไม่กลัว”

 

คามิน เลิศชัยประเสริฐ
27 มกราคม 2557

Published on Feb 18, 2017 at 1:54 am.Filled under: News | No Comments |
นิรนาม

Language : ENGLISH : THAI

สองวันก่อน ผมขี่จักรยานเล่นในเมืองผ่านถนนท่าแพ เห็นป้ายขนาดใหญ่ติดอยู่หน้าร้านขายของ เขียนคำว่า ‘you cannot get lost if you don’t care where you are’ ผมรู้สึกแปลกใจ ก็เลยหยุดแวะชมว่าในร้านขายอะไร ก็มีโปสการ์ด รูปวาดมากมาย ของที่ระลึกสำหรับนักท่องเที่ยว มีรูปวาดโปสการ์ดทำมือที่เขียนข้อความคำคมสอนใจ มีข้อความที่น่าสนใจเช่น

‘No ego, no cry.’

‘ไม่มีอัตตา ไม่มีน้ำตา’

‘Life is not about waiting for the storm to pass, but is about dancing in the rain.’

‘ชีวิตไม่ใช่การรอให้พายุผ่านพ้นไป แต่เป็นการร่ายรำกลางสายฝน’

‘Life Is not measured by the number of breaths we take, but by the number of moments that take our breath away.’

‘ชีวิตไม่ได้ถูกวัดที่จำนวนลมหายใจเข้า แต่วัดที่จำนวนแห่งความปีติจนเราลืมหายใจ’

‘The pessimist sees the hole, the optimist sees the doughnut.’

‘คนมองโลกแง่ร้ายเห็นรูโหว่ คนมองโลกแง่ดีเห็นเป็นโดนัท’

ผมรู้สึกประทับใจในคำคมหล่านี้มาก เลยอยากสนทนากับคนเขียน และขอสัมภาษณ์เขาว่า คำคมเหล่านี้เขาคิดขึ้นเองหรือเอามาจากไหน?

-ก็ได้มาจากสิ่งรอบตัวจากคนที่เข้ามาในร้านและพูดคุยกัน เช่นคุณหรือจากหนังสือที่อ่าน

แล้วพี่ทำมานานหรือยัง?

-30ปี

แล้วที่พี่ทำอยู่คืออะไร?

-ผมก็ไม่รู้ ผมเพียงแต่ทำแล้วมีความสุข

แล้วพี่ทำมันเป็นศิลปะ หรือ commercial art?

-ผมไม่รู้ ผมก็ไม่ได้เรียนมา แค่ทำแล้วมีความสุข ไม่ได้คิดอะไรมาก

แล้วต้องการจะสื่ออะไร? กับคนที่มาดูหรือซื้องาน

-ไม่รู้จะอธิบายยังไง ผมก็ทำอย่างนี้ ไม่ได้คิดอะไรซับซ้อน เพราะทำอะไรซับซ้อนไม่เป็น มันเหมือนกับคนที่เดินเข้าไปในป่า แล้วเห็นว่าป่าเป็นยังไงก็เป็นอย่างนั้น ใครจะคิดอะไร ก็เป็นเรื่องของแต่ละคน คำพูดคำคมเหล่านี้ ก็มีมาตั้งนานแล้ว คนมาซื้อก็ขาย ไม่มาก็ทำไปเรื่อยๆ

ผมเหลือบไปเห็นก้อนหินที่วาดเป็นรูปภูเขาฟูจิยามา และมีตัวอักษรภาษาญี่ปุ่นเขียนอยู่ ผมคิดว่าสวยดีเลยถามว่ามันเขียนว่าอะไร? เขาตอบว่ามันคือก้อนหินที่เขาเก็บได้บนภูเขา ตอนไปเที่ยวกับแฟน แล้วเขียนรูปนี้กับแฟนบนภูเขาที่นั้น ตัวอักษรนั้นมีความหมายว่า

You are my happiness, you are my sadness.
แปลว่าเมื่อคุณมีความสุข ฉันสุขด้วย เมื่อคุณมีความทุกข์ ฉันทุกข์ด้วย

ผมฟังแล้วรู้สึกประทับใจมาก จึงอยากได้ก้อนหินนั้น แต่ก็เกรงใจ เพราะคิดว่ามันเป็นประสบการณ์ส่วนตัว และคงมีคุณค่าทางจิตใจมากสำหรับเขา และผมไม่ควรเข้าไปก้าวก่าย แต่เนื่องจากเห็นว่าที่นี้เป็นร้านค้า แล้วเมื่อก่อนหน้าสักครู่เขาก็พูดว่าขายทุกอย่าง ไม่สะสมอะไร ผมจึงถามเล่นๆว่า

พี่ขายหินนี้ด้วยหรือเปล่า?

-ไม่ได้ทำไว้ขาย แต่ถ้าอยากได้ก็เอาไป

ผมก็เลยงงๆว่า ถ้าไม่ขายแล้วให้ผมเอาไปยังไง เพราะผมไม่อยากได้ของฟรี

-ก็แล้วแต่คุณจะให้ราคา

ผมอดที่อยากจะเข้าใจไม่ได้ ก็เลยถามว่า

ของอย่างนี้ทำไมถึงขาย? แล้วพี่ไม่เสียดายหรือ?

-ก็ถ้ามีคนอยากได้ แล้วทำให้เขามีความสุข ก็เอาไป ส่วนผมเองยังมีโอกาสที่จะหาความสุขแบบนี้ได้อีก….

ผมพักเรื่องนี้ไว้ก่อนแล้วเปลี่ยนไปคุยเรื่องอื่นต่อ ทั้งเรื่องความคิดและวิถีชีวิตประจำวันและประสบการณ์ในอดีตของเขา ขณะนั้นผมเหลือบไปเห็นรูปเล็กๆที่ติดข้างโต๊ะทำงานเขา เป็นโปสการ์ดรูปวงกลมสีแดงเขียนลายเส้นเหมือนใบหน้าของเขา และมีตัวหนังสือเขียนว่า ‘In a world full of compromise, artist don’t.’

ผมเลยถามถึงความหมายของมัน? เขาจึงอธิบายว่า

คือจะต่อรองอะไรในโลกก็ทำไปเถอะแต่ไม่ต้องมากดดันศิลปินนะ เพราะศิลปินเขาเป็นอิสระ

ณ ขณะนั้น ในใจ ผมรู้สึกประทับใจ ซาบซึ้งมากในฐานะที่เป็นศิลปินคนหนึ่ง เพราะคำๆ นี้ทำให้นึกถึงประสบการณ์ที่ผ่านมาในอดีต ที่ผมพยายามค้นหาความหมายที่แท้จริงของศิลปะและคุณค่าของชีวิต ว่ามันคืออะไร? ในหลายๆประสบการณ์ที่ผ่านมา ผมต้องมีการต่อรองและถูกกดดันทางความคิด ความเชื่อและอุดตมคติ กับสังคมและบุคคลรอบข้างที่ไม่มีความเข้าใจ ในจุดมุ่งหมายและความบริสุทธิ์ใจในการทำงานศิลปะ ทุกขณะของการดำเนินชีวิต ผมต้องอยู่กับการต่อรองกับตัวเองตลอดเวลา ณ เวลานั้นเอง ทำให้ผมเกิดคำถามภายในใจ หรือว่าเรายังไม่ใช่ศิลปินที่แท้จริงใช่ไหม? เพราะจิตใจของเรายังไม่เป็นอิสระจากการสร้างสรรค์ การต่อรองและความกดดัน ศิลปะของเรายังไม่รวมเป็นหนึ่งกับวิถีชีวิตอย่างที่ชายผู้นี้เป็น ณ.ขณะนั้น ผมรู้สึกปีติยินดีมากที่ได้มีโอกาสพบกับเขา…ศิลปินนิรนาม

ป.ล. เขาไม่ต้องการให้ผมบอกกล่าวชื่อจริงของเขาในพื้นที่สาธารณะ และนี่คือความตั้งใจของเขาที่ผมเคารพ และขอขอบคุณสำหรับการที่ทำให้ผมได้เข้าใจในคุณค่าของการสร้างสรรค์ และการเป็นศิลปินที่แท้… ที่ปรากฎอยู่ในความเป็นธรรมดาสามัญ ที่มีอยู่แล้วในวิถีการดำเนินชีวิตเราทุกคน มันเป็นสิ่งที่ทุกคนเข้าใจได้แต่น้อยคนที่จะเข้าถึงความพิเศษของความเป็นธรรมดา

ประมาณหนึ่งอาทิตย์ต่อมา ผมยังคงประทับใจและคิดถึงเรื่องราวที่ได้พบเจอเขา และอยากจะแบ่งปันประสบการณ์นี้ใน www 31century.org ผมกลับไปหาเขาเพื่อที่จะขออนุญาตในการเผยแพร่บทความนี้ เขาก็ยินยอม เราก็ได้พูดคุยกันต่อมากมายและเขาได้พาชมบ้านที่พักชั้นสอง ผมพบเห็นสมุดวาดรูปที่หน้าปกเขียนว่า”Energies In Fusion”วาดและเขียนบทกวีโดยเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างเขาและเพื่อนสาวชาวญี่ปุ่น สลับกันทั้งวาดและเขียนบทกวี ทำขึ้นประมาณ๑๐ปีก่อน

เขาเปิดสมุดให้ผมดู มันถูกห่อหุ้มด้วยพลาสติกอย่างเรียบร้อย ผมรู้สึกได้ถึงการเอาใจใส่กับมันเป็นพิเศษ เขาเริ่มบรรยายความหมายของบทกวีที่เขียนขึ้นทั้งภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษรวมทั้งประสบการณ์ที่อยู่เบื้องหลัง

“I want to do to you what spring does to the sakura trees.”

“ฉันปราถนาทำกับคุณดั่งที่ฤดูใบ้ไม้ผลิทำกับต้นซากุระ”

ผมเหลือบไปเห็นป้ายราคา 200,000บาท ผมก็เลยถามเขาว่าแล้วเล่มนี้พี่ก็ขายมันด้วยหรือ? เขาตอบว่าใช่…

ภายในใจผมเริ่มสับสนกับคำตอบและสงสัยว่าทำไมเขาถึงขายเพราะผมคิดว่ามันน่าจะเป็นสิ่งที่มีคุณค่าทางจิตใจมากๆสำหรับเขา และสมมุติว่าผมเป็นเขา ใครให้เท่าไรก็คงไม่มีทางขายแน่นอน ผมเลยถามต่อไปว่าถ้าผมต้องการจะซื้อมันพี่จะขายผมเท่าไร?

เขาตอบว่าเท่าไรก็ได้ที่คุณคิดว่าเหมาะสม เมื่อให้แล้วมันไม่ทำให้คุณลำบาก ผมเข้าใจว่าคุณค่าของศิลปะไม่ได้ขึ้นอยู่กับราคา

ผมถามเขาต่อไปว่า ในเมื่อคุณค่าของศิลปะไม่ได้อยู่ที่ราคาแล้วทำไมพี่ถึงขายและไม่เสียดายมันหรือ?

เขาตอบว่า ผมอายุจะ๗๐ปีแล้ว จะเก็บสะสมอะไรไปทำไม…เราเอาไปไม่ได้สักอย่าง

ณ.ขณะนั้น ผมรู้ทันทีโดยสันชาติญาณว่าสมุดเล่มนี้จะต้องอยู่ใน พิพิธภัณฑ์จิตวิญาณแห่งศตวรรษที่๓๑

๒๑ กันยายน ๒๕๕๕

Published on Sep 23, 2012 at 10:48 pm.Filled under: News | No Comments |
พิพิธภัณฑ์ศตวรรษที่ ๓๑ ที่กรุงเทพมหานครฯ(สยามเมืองยิ้ม)

จิตที่เปี่ยมด้วยความรักความเมตตาปราศจากความกลัวเป็นจุดกำเนิดของอิสรภาพและการสร้างสรรค์

 

การสร้างสรรค์สังคมแห่งความสุขคือการสร้างความสัมพันธ์ของสมาชิกในสังคม จุดเริ่มต้นอยู่ที่การใส่ใจในความสัมพันธ์ภายในจิตใจของตนเองที่มีต่อเรื่องราวต่างๆที่เกิดขึ้นทุกขณะ ความรู้สึกประทับใจในเรื่องราวดีๆที่มีพลังงานบริสุทธ์(Ready-made culture) สัจจะที่อยู่เหนือพ้นจิตสำนึก เราสามารถนำมาเป็นแรงบันดาลใจเปลี่ยนแปลงให้เป็นประสพการณ์ตรงโดยผ่านกระบวน การเรียนรู้จักตนเองที่แท้จริงคือการทำความเข้าใจสิ่งที่อยู่ภายในตนเองและนำมาสร้างสรรค์ผลงานศิลปะให้ปรากฎออกมาเป็นรูปธรรม เพื่อให้สังคมได้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันแล้วกลับมามีรอยยิ้มอีกครั้ง เพราะเราคือสังคม

 

แนวความคิด

 

กรุงเทพมหานครฯเป็นเมืองใหญ่ที่มีความเจริญเติบโตทางเศษฐกิจและทางวัตถุอย่างมากซึ่งไม่แตกต่างอะไรกับเมืองใหญ่ต่างๆทั่วโลกเช่น โตเกียว ปารีส นิวยอกร์ ฯลฯ ด้วยสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วทั่วโลกทำให้ส่งผลต่อวิถีชีวิตของผู้คนในชุนชนเมือง สภาพแวดล้อมที่เคยประกอบไปด้วยธรรมชาติลดน้อยลงและการดำรงชีวิตที่พึ่งพิงผลผลิตจากธรรมชาติโดยตรงได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นการพึ่งพิงจากเศษฐกิจและอุสาหกรรมเป็นหลัก ซึ่งส่งผลให้มนุษย์ในสังคมปัจจุบันจึงมุ่งแต่แสวงหาความสุขสบายที่เกิดจากวัตถุโดยการสะสมเงินทองทรัพย์สมบัติและให้คุณค่าทางวัตถุมากกว่าคุณค่าของความสัมพันธ์ทางด้านจิตใจ จนเกิดเป็นค่านิยมใหม่ของสังคมสมัยใหม่ที่มักจะประเมิณคุณค่าหรือตัดสินปัญหาและเหตุการณ์ต่างๆด้วยผลประโยชน์ที่จะได้รับที่เป็นมูลค่าของการตอบแทนทางวัตถุมากกว่าการคำนึงถึงคุณค่าทางด้านจิตใจ,ด้านศีลธรรม,ด้านศิลปวัฒนธรรมรวมถึงระบบนิเวศทางธรรมชาติ

 

มนุษย์เป็นสัตว์สังคมเราต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน ไม่มีสิ่งใดสามารถแยกอยู่อย่างโดดเดี่ยว ความสัมพันธ์คือความหมายของการดำรงอยู่ ความขัดแย้งต่างๆของเราเกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ในทุกระดับของการดำรงอยู่ เพราะการที่เราไม่เข้าใจในควาสัมพันธ์อย่างถ่องแท้ ฉนั้นการเริ่มต้นที่จะรู้จักตนเองจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการทำความเข้าใจในความสัมพันธ์ที่มีต่อสิ่งต่างๆ การใส่ใจในความรู้สึกนึกคิดภายในแต่ละขณะที่มันเกิดขึ้นในความสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆในสังคมไม่ว่ามันจะเป็นเรื่องราวเป็นข่าวใหญ่โตหรือเหตุการณ์เล็กๆที่ไม่มีใครรับรู้ก็ตาม เพราะสิ่งเหล่านี้ได้ส่งผลกระทบต่อความรู้สึกนึกคิดและทัศนคติของเราต่อความสัมพันธ์กับสังคมโดยตรง มันจึงมีความสำคัญอย่างมากในการที่เราจะเลือกรับรู้และทำความเข้าใจในข้อมูลข่าวสารที่เป็นความจริงความดีงามก่อนที่จะส่งต่อผู้อื่น

 

โครงการนี้เราตั้งใจจะรวบรวมเรื่องราวข่าวสารข้อมูลที่มีพลังงานบวก(Ready-made culture)ที่เกิดขึ้นในกรุงเทพฯเพื่อนำมาเสนอต่อสังคมอีกครั้งโดยผ่านกระบวนการศึกษาอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์แยกแยะสำรวจตรวจสอบเหตุปัจจัยร่วมกันโดยแนวทางวิธีการสื่อสารและการสร้างสรรค์ผลงานศิลปร่วมสมัยที่มีรูปแบบที่หลากหลายในการนำเสนอ เพื่อให้ผู้มีส่วนร่วมในโครงการได้เรียนรู้ประสพการณ์ในการทำความเข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่างจุดกำเนินของความสัมพันธ์ ซึ่งก็คือจุดเริ่มต้นของความคิดสร้างสรรค์ที่เป็นแรงบันดาลใจนำมาพัฒนาให้กลายมาเป็นประสพการณ์ตรงโดยผ่านขั้นตอนของกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ จนถึงขั้นตอนการนำเสนอออกสู่สาธารณะอย่างเป็นรูปธรรม

 

ประเทศไทยเคยได้ชื่อว่า”สยามเมืองยิ้ม” นั้นมีนัยยะที่สำคัญและบ่งบอกให้เราเห็นและเข้าใจถึงพื้นฐานของคุณค่าที่มีอยู่ในวัฒนธรรมอันดีงามของสังคมไทยในอดีต ถึงแม้ในสังคมปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปมากแต่พวกเราทีมงานทุกคนที่มีส่วนร่วมจัดตั้งโครงการ “31 Century Museum of Contemporary Spirit in BKK” มีความเชื่อมั่นว่ารอยยิ้มและน้ำใจอันดีงามยังคงมีอยู่ภายในจิตใจของคนไทยและในมนุษย์ทุกคน นี้คือเป้าหมายที่พวกเราพยายามนำมันกลับมาให้ปรากฎเป็นรูปธรรมอีกครั้ง สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลยถ้าขาดความร่วมมือจากทุกท่านที่จะมาร่วมแบ่งปันประสพการณ์แห่งความประทับใจเกี่ยวกับเรื่องราวที่แสดงออกถึงพลังงานบวกที่ปรากฎออกมาในรูปแบบของความรักความเมตตาทำให้เราและผู้ที่ได้รับรู้เกิดรอยยิ้มได้อีกครั้ง

 

รอยยิ้มและแรงบันดาลใจ

 

มีเรื่องราวดีๆมากมายที่เกิดขึ้นในกรุงเทพทั้งเป็นข่าวและไม่มีใครรับรู้เลยนอกจากเขาคนนั้นที่ประสพเหตุการณ์เองเช่น เรื่องแท๊กซี่ใจดีที่ขับรถ มท.9569 ชื่อนายณรงค์ สายรัตน์ เขาเก็บสะสมเงินทอนที่รับทิบจากผู้โดยสารแล้วนำไปซื้อของใช้ต่างๆที่จำเป็นสำหรับชีวิตประจำวันเช่น ขนมขบเคี้ยว มาม่า ถุงยางอนามัย ปากกา สากกระเบือและครกเครื่องครัวต่างๆ ฯลฯ เหมือนเป็นร้านโชห่วยมาไว้ในรถแท๊กซี่ สิ่งของเหล่ามีไว้แจกฟรีให้กับผู้โดยสารที่ต้องการมัน เพื่อเป็นการตอบแทนบุญคุณที่เขาได้รับจากผู้โดยสาร

 

หรือเรื่องของคุณปฐมา หรุ่นรักวิทย์ เริ่มก่อตั้ง CASE (Community Architects for Shelter and Environment) เมื่อ 2540เพื่อทำงานเกี่ยวกับชุมชนแออัดและคนยากจนอย่างแท้จริง โครงการสลัมย่านตลาดเก่ามีนบุรี อยู่ใกล้กับเบริเวณบ้านเธอ เมื่อเจ็ดปีก่อน เธอได้เริ่มกิจกรรมกับเด็กๆและชาวบ้านในละแวกนั้น โดยมีความเชื่อพื้นฐานว่า เราทุกคนแม้ต่างอาชีพ ต่างฐานะ แต่มีคุณค่าในความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน การทำงานของเธอเริ่มต้นด้วยความเชื่อที่ว่่า งานจะสำเร็จ สามารถเกิดขึ้นได้จากการร่วมมือร่วมใจกันของทุกคนในชุมชนโดยไม่ใช้เงินเป็นตัวตั้งในการทำงาน เธอมีความเชื่อที่ว่าเงินศูนย์บาทก็สามารถทำงานให้สำเร็จได้ และนั่นก็คือที่มาของชื่อที่เรียกเธอว่า “สถาปนิกสลัม”

 

เป็นอีกเรื่องที่ผมประทับใจมากคือ ชุมชนแออัดที่ตลาดเก่ามีนบุรี เธอเล่าว่าครั้งแรกที่เข้าไปสำรวจพื้นที่ พวกเธอจะเป็นคนแปลกแยกและไม่ได้รับความร่วมมือจากคนในชุมชน เพราะพื้นที่ที่นี้เป็นพื้นที่บุกรุกของทางราชการ และมีข้อพิพาทกับทางรัฐเป็นเวลาช้านาน จึงไม่ได้รับงบหรือทุนจากทางราชการเลยในอดีต เธอจึงเริ่มด้วยการทำงานกับเด็กๆที่วิ่งตามทีมงานที่สำรวจ ทีมสำรวจตั้งใจจะทำสนามเด็กเล่นให้เด็ก แต่เมื่อถามเด็กๆว่าอยากได้อะไรในพื้นที่นี้ เด็กส่วนมากกลับตอบว่าอยากได้สระว่ายน้ำ ซึ่งทำให้ทุกคนแปลกใจและเป็นไปได้ยากเพราะไม่มีงบประมาณเลย แต่เมื่อทำความเข้าใจกับเด็กๆ กลับพบว่า สระว่ายน้ำในความคิดของผู้ใหญ่ (ทีมงาน)กับเด็กๆมีความต่างกัน คุยกันไปเรื่อยๆแล้วพบว่าขนาดสระว่ายน้ำที่เด็กต้องการคือขนาด 3 x 5 เมตร เป็นบ่อน้ำย่อมๆเอง หลังจากนั้นเขาจึงเริ่มสร้างสระว่ายน้ำด้วยแรงงานจากเด็กๆ ผู้ปกครอง อาสาสมัครทั้งนักศึกษาสถาปัตย์ไทยและต่างประเทศ คุณปฐมาบอกว่า โชคดีมากที่ทางเข้าหมู่บ้านเป็นสะพานเล็กๆข้ามคลอง รถยนต์ไมสามารถผ่านได้ ทุกอย่างจึงอาศัยคนขนข้ามมา สิ่งที่ผมและคนส่วนใหญ่คงคิดว่าการที่รถยนต์ไม่สามารถเข้ามาได้เป็นปัญหาหรือเป็นอุปสรรค แต่ในทัศนคติของคุณปฐมากลับมองว่าเป็นเรื่องที่ดีสำหรับการทำกิจกรรมครั้งนี้ เพราะทำให้เกิดความสามัคคีช่วยสร้างสำนึกในการมีส่วนของคนในชุมชน

 

จากสนามเด็กเล่นสู่สระว่ายน้ำ กลายมาเป็นสนามฟุตบอล ซึ่งเด็กผู้ชายจะชื่นชอบ แต่เด็กผู้หญิงไม่อยากเล่นฟุตบอล แต่ต้องการห้องสมุดสำหรับทำการบ้านตอนเย็นและเป็นที่อ่านหนังสือ จึงเกิดเป็นห้องสมุดชุมชนขึ้น และหลังจากนั้นก็มีโรงเก็บเครื่องมือชุมชน ฯลฯ ทุกๆปีช่วงเวลาปิดเทอมสามเดือน เธอและนักศึกษาของเธอ รวมทั้งเด็กๆและชาวบ้านในชุมชนจะกลับมารวมตัวกันซ่อมแซม สร้าง หรือพัฒนาบางอย่างที่ชุมชนต้องการ จากจุดนี้ จึงทำให้ชาวบ้านเริ่มรวมตัวและสร้างสาธารณะประโยชน์ด้วยตัวพวกเขาเอง โดยที่ไม่ต้องรอช่วงปิดเทอม เช่นการสร้างสะพานใหม่ ยกระดับถนนให้สูงขึ้นช่วงน้ำท่วมด้วยการเทพื้นซีเมนต์ เป็นต้น

 

หรืออีกเรื่องราวที่ผมประทับใจเมื่อได้รับฟังจากคุณอัจฉราภรณ์ กังแฮ เขาเล่าถึงเหตุการณ์หนึ่งว่าได้มีโอกาศพบเจอคนไร้บ้านคนหนึ่งไม่ใส่เสื้อและมีสภาพผอมโซเหมือนอดอาหารมาหลายวัน ขณะที่เดินผ่านเธอรู้สงสารแล้วได้ยิบยื่นถุงขนมปังที่มีอยู่สองก้อนให้แก่ชายผู้นั้น เขารับไว้หนึ่งก้อนแล้วก็ส่งขนมปังอีกก้อนคืน แล้วพูดว่าขอบคุณครับแค่ก้อนเดียวก็พอ มันดูเหมือนไม่มีอะไรที่สำคัญแต่เหตุการณ์นี้กลับมีผลกระทบรุนแรงกับความรู้สึกนึกคิดภายในใจของเธอต่อทัศนคติในการตระหนักถึงคุณค่าในเรื่องการดำเนินชีวิตอย่างความพอเพียงและการรู้จักประมาณตน

 

อีกเรื่องราวที่มีคุณค่าจากคุณจักรกฤษณ์ เสืออบ ที่ได้แบ่งปันเรื่องของคุณยายคุณตาที่ขายข้าวแกงในราคาถูกมากจานละ15บาทซึ่งราคาปรติทั่วไปอยู่ที่ราคา30-40 บาทและให้ในปริมาณที่มากด้วยเพื่อให้คนในละแวกนั้นที่มีรายได้น้อยและเป็นคนหาเช้ากินค่ำได้กินอิ่ม เพียงด้วยเหตุผลที่ต้องการช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังหากำไรมากมายด้วยวิธีความคิดแบบบุญนิยมมากกว่าทุนนิยม(การทำกำไรสูงสุดเพื่อตนเอง)

 

จากตัวอย่างทั้งสี่เรื่องที่นำมาแบ่งปันน่าจะเป็นแนวทางบางอย่างทำให้เราได้ใส่ใจในความสัมพันธ์มากขึ้น จากการสังเกตุถึงเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นรอบตัวในชีวิตประจำวัน เราอาจได้พบเจอเรื่องราวดีๆแต่อาจคิดว่ามันไม่สำคัญต่อผู้อื่นเลยมองข้ามไป แต่สัจจะของธรรมชาติเป็นพลังงานที่บริสุทธ์ของความรักความเมตตาจะส่งผลต่อทัศนคติที่ดีงามต่อตัวเรา มันไม่อาจนำมาเปรียบเทียบได้ว่าเรื่องราวของใครอันไหนสำคัญและดีกว่าหรือดีน้อยกว่ากันเพราะมันมีความหมายและเป็นคุณค่าเฉพาะตนที่เป็นเอกลักษณ์แห่งความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและพื้นที่ของแต่ละบุคคล นั้นหมายความว่าเมื่อเรามีรอยยิ้มสังคมก็จะมีรอยยิ้มเพราะเราคือสังคม

 

ปล.แนวความคิดบางส่วนได้รับแรงบันดาลใจมาจากหนังสือกระจกเงาแห่งความสัมพันธ์ จ.กฤษณมูรติ

 

คามิน เลิศชัยประเสริฐ

๒๒ กันยายน ๒๕๖๐

 

ขั้นตอนและกรอบเวลา(ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม)

 

    1. การบรรยายเกี่ยวแนวความคิดและการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของคามิน เลิศชัยประเสริฐ (ใช้เวลาประมาณ2ชั่วโมง) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคาดหวังว่าควรจะต้องมีอย่างน้อยกว่า 200 คนและเปิดโอกาศให้บุคคลทั่วไปเข้าร่วมได้ไม่จำกัดจำนวนโดยมีนักศึกษาจากเพาะช่างทุกสาขาที่มีความสนใจเข้าร่วมเป็นแกนหลัก(เดือนมกราคม ๒๕๖๑)

    2. การบรรยายเกี่ยวกับละลายเอียดของการทำงานจัดนิทรรศการ31 Century Museum in BKK(Land of smile)เช่นแนะนำการเลือกเรื่องราวและการนำเสนอในรูปแบบหรือเทคนิคที่เหมาะสมฯลฯ(ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง)ข้อที่1  และข้อที่ 2 อาจเป็นวันเดียวกันบรรยายต่อเนื่องหรือแบ่งเป็นสองเวลาช่วงเช้าและบ่าย (เดือนมกราคม ๒๕๖๑)

    3. ผู้ร่วมโครงการนำเสนอหัวข้อเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่ประทับใจครั้งที่๑ (เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๑)

    4. ถ้ามีงบประมาณมากพอก็จะมาการจัดทัศนศึกษามาเชียงใหม่เพื่อมาดูงานและเรียนรู้จาก พิพิธภัณฑ์แห่งศตวรรษที่ 31 www.31century.orgหรือแนะนำให้ไปปฎิบัติวิปัสสนาสายท่านโกเอ็นก้า (http://www.thaidhamma.net)ขึ้นอยู่กับการสมัครใจเพื่อเป็นข้อมูลในการทำความเข้าใจแนวคิดและประสพการณ์ในการรับรู้ถึงสภาวะที่เป็นกลางหรืออุเบกขาในการที่จะเห็นถึงความหมายของสิ่งต่างๆอย่างที่มันเป็นไม่ใช่อย่างที่เราต้องการจะให้มันเป็น(เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๑)

    5. นำเสนอหัวข้อเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่ประทับใจครั้งที่๒ เลือกสถานที่จากเรื่องราวที่ผู้เข้าร่วมโครงการนำเสนอที่คิดว่าน่าสนใจเป็นแบบอย่างเพื่อไปลงพื้นที่ในกรุงเทพฯด้วยกันจำนวนตามความเหมาะสมของเวลาและงบ(เดือนมีนาคม-พฤษภาคม ๒๕๖๑)

    6. ประชุมและออกแบบนิทรรศการ – สร้างสรรค์ผลงานของแต่ละคน กำหนดพื้นที่ติดตั้ง 5 ห้องแสดงงาน ซึ่งมีขนานใหญ่มากเพราะฉนั้นผู้ร่วมเข้ากิจกรรมควรจะต้องมีไม่น้อยกว่า 150 คนหรือผลงานประมาณ150 ชิ้น (เดือนมิถุนายน-กันยายนคม๒๕๖๑)

    7. จัดทำสื่อสิ่งพิมพ์สูจิบัตรและแผนที่แผ่นพับเพื่อแสดงสถานที่ตั้งของเรื่องราวจริงที่เกิดขึ้นที่เป็นแรงบันดาลใจ ส่วนห้องแสดงงานที่มหาวิทยาลัยเพาะช่างเป็นสถานีเพื่อแสดงผลงานนักศึกษาคล้ายกับเป็นแบบจำลองห้องทดลองและสำหรับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและติดต่อสื่อสารกับผู้ชมทั่วไป (เดือนกันยายน-ตุลาคม ๒๕๖๑)

เปิดนิทรรศการแสดงงาน ทุกขั้นตอนนักศึกษาจะต้องมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกันเรียนรู้ที่จะรับผิดชอบและแก้ไขปัญหาโดยมีศิลปินและภัณฑารักษ์เป็นเพียงผู้แนะนำและสนับสนุนเพราะเป้าหมายที่สำคัญของโครงงานนี้คือการนำเสนอนิทรรศการแสดงงานศิลปะเชิงปฎิบัติการ (workshop)และศิลปะกระบวนสร้างสรรค์(Process art) โดยส่วนตัวผมเชื่อว่าศิลปะคือกระบวนการเรียนรู้จักตนเอง สังคมและธรรมชาติ เพื่อตระหนักรู้ถึงคุณค่าของความจริงความดีและความงามที่มีอยู่ในเราทุกคนตั้งแต่เกิดเพียงแค่เราหลงลืมมันไปให้กลับคืนมาผ่านรอยยิ้มของเราอีกครั้งหนึ่ง (เดือนพฤจิกายน ๒๕๖๑-มกราคม ๒๕๖๒)

Published on Feb 20, 2018 at 4:44 am.Filled under: News | No Comments |
พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์

Language : ENGLISH : THAI

Sorfinnset,
Norway 2013

22 กค. 56 เรามาถึงประเทศ Norway เมือง Sorfinnset อีกครั้งหนึ่ง รู้สึกเหมือนได้กลับบ้าน ระหว่างทางจากสนามบิน เราได้เห็น moose สองตัว รู้สึกแปลกตาตื่นใจ เมื่อถึงที่พัก เราได้เจอเพื่อนเก่ามากมาย Geir Tore Holm กำลังทำข้าวเย็นให้เรากิน ครั้งนี้เราได้ย้ายจากโรงเรียน Sorfinnset มาอยู่ที่ Youth House เป็นพื้นที่จัดกิจกรรมครบรอบสิบปีของโครงการ Sorfinnset Skole/The Nord Land

ที่ Youth House สะอาดสะอ้านมาก พื้นห้องจัดกวาดเป็นระเบียบเรียบร้อยจนเรารู้สึกว่าต้องถอดรองเท้าเดินเข้าไปในห้องโถง เมื่อมีคนหนึ่งถอดรองเท้าเดินเข้าไป ทุกคนเลยทำตาม เมื่ออาหารเย็นเสร็จ Kenneth และย่าหยา ก็มาถึง เราจึงเริ่มรับประทานอาหารเย็นด้วยกัน เราเริ่มพูดคุยถึงความหลังที่เป็นจุดเริ่มต้นของโครงการนี้ และสิ่งแรกที่เรานึกถึงคือโรงเรียน Sorfinnset ที่เคยเป็นจุดรวมกิจกรรมต่างๆ คล้ายกับศูนย์บัญชาการของพวกเราในอดีต แต่ตอนนี้เทศบาลท้องถิ่นได้ขายมันไป กลายเป็นสมบัติส่วนบุคคลของผู้อื่น เมื่อพูดถึงมัน พวกเรารู้สึกเสียดายและเสียใจที่ไม่สามารถกลับไปมีประสบการณ์ที่ดีกับมันได้อีก มันเคยเป็นที่รวมจิตใจในการจัดกิจกรรมต่างๆตลอดเวลาสิบปีที่ผ่านมา

เราได้พูดถึงโบสถ์เก่าที่อยู่ตรงข้ามกับโรงเรียน Sorfinnset ที่เคยใช้เป็นที่พักชั่วคราวสำหรับพวกเราบางส่วนในการจัดกิจกรรมเมื่อครั้งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเยอะในคราวที่แล้ว แต่มาปีนี้ เราก็ไม่สามารถใช้ได้ เพราะมีสองคนผัวเมียชาวคองโก ซึ่งหลบหนีเข้าประเทศนอร์เวย์มาอาศัยอยู่ เป็นเวลาเกือบแปดเดือนแล้ว Kenneth เล่าว่าพวกเขาหนีเข้าเมืองอย่างผิดกฏหมาย ตำรวจก็ทราบเรื่องทุกอย่าง แต่ไม่สามารถทำการจับกุมได้ เพราะนอร์เวย์มีกฏหมายคุ้มครองพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ โบสถ์เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ เมื่อมีคนทำความผิดเข้าไปอยู่ในพื้นที่นั้น ตำรวจจะไม่สามารถจับกุมเขาจนกว่าเขาจะก้าวออกมาจากบริเวณโบสถ์

ผมรู้สึกแปลกใจมากกับเรื่องราวที่ได้ยิน บวกกับประทับใจว่าทำไมความเชื่อและความศรัทธาของคนนอร์เวย์ยังคงมีความเคารพทางด้านจิตวิญญาณอยู่มาก จนปรากฏออกมาเป็นกฏหมายคุ้มครองพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ จากเหตุการณ์ครั้งนี้ ทำให้ผมพยายามทำความเข้าใจกับคุณค่าของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ว่ามันเกิดขึ้นมาได้อย่างไร?

เกิดจากการให้คุณค่าและความหมายของผู้อยู่อาศัย และผู้ใช้พื้นที่นั้นได้ปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม?

หรือว่ามันเกิดจากการที่เรา ผู้ชมหรือผู้ที่เข้าไปมีส่วนร่วมยอมรับในความหมายหรือคุณค่ากับพื้นที่นั้น?

หรือพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ที่แท้จริงแล้ว เป็นพื้นที่ที่มีอยู่ในใจเราทุกคนอยู่แล้ว และทำให้เกิดความตระหนักรู้ในตัวเราที่มีความเคารพต่อคุณค่าความหมายของกิจกรรมในสถานที่นั้น?

ผมเชื่อว่า พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์นี้ มีอยู่ในจิตใจเราทุกคน นั่นก็คือความรักความเมตตา สิ่งเหล่านี้จะปรากฏขึ้น ก็ต่อเมื่อเราให้คุณค่ากับการกระทำที่มีสัจธรรม และการเปิดกว้างยอมรับเหตุการณ์ต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราอย่างไม่มีความยึดมั่นในตัวตน มองเห็นประโยชน์สุขของส่วนรวมและปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ เมื่อนั้นผู้อื่นก็จะสัมผัสได้ถึงความศักดิ์สิทธิ์ของธรรมชาติในทุกสิ่ง

 

คามิน เลิศชัยประเสริฐ

Published on Sep 10, 2013 at 10:19 pm.Filled under: News | No Comments |
อาจารย์ใหญ่

Language : ENGLISH : THAI

“แม่เป็นคนไม่มีความรู้ เกิดมายากจนไม่ได้เรียนหนังสือ ตายไปแล้วก็อยากเป็นอาจารย์สอนคนอื่นบ้าง”

สุกัญญา หวังชัยเจริญกิจ
เสียชีวิตอายุ 73 ปี

 

ครั้งแรกที่ผมได้ยินถ้อยคำนี้ ผมประทับใจมากจากความเสียสละและจิตเมตตาที่มีต่อเพื่อนมนุษย์ เธอได้บริจาคร่างกายให้กับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อการศึกษาของนักศึกษาแพทย์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผมเคยคิดและตั้งใจที่จะทำ แต่ไม่เคยมีความกล้าที่จะทำ เพราะความเชื่องมงายซึ่งปลูกฝังและสั่งสมกันมาในสังคมไทยในอดีตที่มีต่อข้าพเจ้า เกี่ยวกับร่างกายที่ไม่สมบูรณ์เมื่อตาย เมื่อเรากลับมาเกิดใหม่อีกครั้งหนึ่ง เราก็จะมีร่างกายที่ไม่ครบถ้วน

จากคำพูดนี้ของคุณแม่สุกัญญา ทำให้ผมต้องกลับมาพิจารณาใหม่ถึงความไม่กล้าหาญ และความเชื่อที่ปิดกั้นเสรีภาพของการแสดงออกถึงความเสียสละและเมตตาที่หายไปในตัวผม

คามิน เลิศชัยประเสริฐ
8 พฤศจิกายน 2557

Published on Nov 09, 2014 at 10:21 pm.Filled under: News | No Comments |
เชียงใหม่ใจดี Published on Dec 27, 2012 at 2:11 am.Filled under: News | No Comments |
เมตตา Published on Feb 19, 2017 at 9:12 pm.Filled under: News | No Comments |
เหนือพ้นอาชีพ

คุณปฐมา หรุ่นรักวิทย์
Patama Roonrakwit

CASE Community Architects for Shelter and Environment
www.casestudio.info

Language : ENGLISH : THAI

เมื่อสองปีก่อน ผมไปทานข้าวที่ร้านอาหาร และได้มีโอกาสอ่านนิตยาสารขวัญเรือน มีบทความเกี่ยวกับสถาปนิกสลัม (ปฐมา หรุ่นรักวิทย์) ผมได้เปิดอ่านนิดหน่อยและรู้สึกประทับใจมาก แต่ยังอ่านไม่จบในขณะที่ทานอาหารเสร็จแล้ว จึงยืมทางร้านไปถ่ายเอกสารเอามาเก็บไว้อ่านต่อ บทความนี้แขวนอยู่หน้าโต๊ะทำงานผมทุกวัน เป็นเวลาเกือบสองปี ที่ผมตั้งใจจะติดต่อไปขอนั่งคุยสัมภาษณ์ และทำความรู้จักกับการทำงานของเธอให้มากขึ้น แต่ก็ยังไม่เคยมีโอกาสเลยจนกระทั่ง

18 สิงหา 56 ผมได้มีโอกาสไปประชุมกับศิลปินไทยท่านอื่นๆที่เข้าร่วมเกี่ยวงานที่จะไปแสดงที่ Singapore Bienale ในหัวข้อ If the World Change โดยมี คุณอังกฤษ อัจฉริยะโสภณ เป็นภัณฑารักษ์ ในการประชุมครั้งนี้ หนึ่งในศิลปินผู้เข้าร่วมก็คือคุณปฐมา ซึ่งผมรู้สึกดีใจที่ได้มีโอกาสพบเจอตัวจริง เมื่อการประชุมสิ้นสุดลง ผมจึงพูดความในใจว่าผมชื่นชมผลงานของเธอมานานแล้ว แต่ไม่มีโอกาสได้เจอ วันนี้ถือเป็นโชคดีที่ได้เจอ และอยากนัดสัมภาษณ์และลงพื้นที่ยังชุมชนแออัดที่เธอทำงานอยู่

ผมรู้สึกว่าสิ่งที่เธอทำ มันมากไปกว่างานด้านสถาปัตย์กับชุมชนแต่มันเป็นการเปลี่ยนแปลงสำนึกของชุมชนที่เข้าร่วมทำกิจกรรม และรวมไปถึงเป็นแบบอย่างให้แก่สังคมอื่นๆที่ได้ยินเรื่องราวหรือเป็นข้อมูลในการศึกษา ทำความเข้าใจถึงโครงสร้างของปัญหาที่มีอยู่ในสังคมมนุษย์ รวมไปถึงเรื่องอื่นๆ มันเป็นจุดเล็กๆที่สะท้อนถึงความสัมพันธ์ของปัญหาต่างๆที่โยงใยกัน ตั้งแต่เรื่องเศรษฐกิจ การเมือง ศีลธรรม กฏหมาย ศิลปะวัฒนธรรม ฯลฯ ทุกสิ่งทุกเรื่องเราสามารถเข้าใจมันได้จากกิจกรรมที่เธอทำ ผมคิดว่าถ้าเราสามารถทำความเข้าใจและศึกษาวิธีการทำงานของคุณปฐมาอย่างลึกซึ้งถึงเหตุปัจจัยต่างๆที่เกิดขึ้นในกระบวนการนี้ (สถาปนิกชุมชน) มันจะทำให้เราเข้าใจในต้นเหตุของปัญหาที่แท้จริงทางสังคม (ชุมชนแออัด) รวมไปถึงวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน และศักยภาพที่แท้จริงที่มีอยู่ในเราทุกคนว่าเรามีความสามารถมากมายที่ซ่อนอยู่และสามารถสร้างสรรค์ได้

ปฐมาเริ่มก่อตั้ง CASE (Community Architects for Shelter and Environment) เมื่อ 2540เพื่อทำงานเกี่ยวกับชุมชนแออัดและคนยากจนอย่างแท้จริง โครงการสลัมย่านตลาดเก่ามีนบุรี อยู่ใกล้กับเบริเวณบ้านเธอ เมื่อเจ็ดปีก่อน เธอได้เริ่มกิจกรรมกับเด็กๆและชาวบ้านในละแวกนั้น โดยมีความเชื่อพื้นฐานว่า เราทุกคนแม้ต่างอาชีพ ต่างฐานะ แต่มีคุณค่าในความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน การทำงานของเธอเริ่มต้นด้วยความเชื่อที่ว่่า งานจะสำเร็จ สามารถเกิดขึ้นได้จากการร่วมมือร่วมใจกันของทุกคนในชุมชนโดยไม่ใช้เงินเป็นตัวตั้งในการทำงาน เธอมีความเชื่อที่ว่าเงินศูนย์บาทก็สามารถทำงานให้สำเร็จได้ และนั่นก็คือที่มาของชื่อที่เรียกเธอว่า “สถาปนิกสลัม”

วันรุ่งขึ้น ผมกับอังกฤษไปพบเธอที่สตูดิโอ และเยี่ยมชมโครงการย่านตลาดเก่ามีนบุรี เธอเล่าให้ฟังว่า ครั้งแรกที่ทำงานเกี่ยวกับชุมชน คือชุมชนแออัดบ้านริมน้ำที่จ.สงขลา ผมถามเธอว่ามีเรื่องประทับใจหรือความรู้อะไรที่ได้รับจากการทำงานชิ้นแรก เธอเล่าว่า เมื่อออกแบบและตำแหน่งการสร้างสะพานของชุมชน เธอออกแบบตามวิชาการที่เหมาะสมตามแผนผังชุมชนที่ได้รับมา แต่พอลงพื้นที่จริงชาวบ้านส่วนใหญ่ทักท้วงว่าไม่ควรสร้างตำแหน่งตรงนี้ด้วยเหตุว่า เจ้าของบ้านที่อยู่ตรงตำแหน่งนั้นเป็นคนตระหนี่และรู้ดีว่าหากทำสะพานตรงนั้น เจ้าของที่ดินอาจไม่ให้ผ่าน หรือถ้าผ่านก็จะเก็บเงินค่าผ่านทาง สิ่งเหล่านี้ทำให้เธอได้เรียนรู้ว่า หลักวิชาการที่เธอเรียนมา เมื่อลงพื้นที่จริงแล้วไม่ได้ขึ้นอยู่กับความถูกต้องทางวิชาการเสมอไป แต่ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ที่เป็นจริงของวิถีชีวิตชุมชน ดังนั้นบทเรียนที่เธอได้รับคือ การต้องให้ชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของการคิดและออกแบบก่อน กระบวนการนี้สร้างสำนึกของความเป็นเจ้าของและความผูกพันที่เกิดจากประสบการณ์ในการทำงานร่วมกันของคนในชุมชน

อีกเรื่องที่ผมประทับใจมากคือ ชุมชนแออัดที่ตลาดเก่ามีนบุรี เธอเล่าว่าครั้งแรกที่เข้าไปสำรวจพื้นที่ พวกเธอจะเป็นคนแปลกแยกและไม่ได้รับความร่วมมือจากคนในชุมชน เพราะพื้นที่ที่นี้เป็นพื้นที่บุกรุกของทางราชการ และมีข้อพิพาทกับทางรัฐเป็นเวลาช้านาน จึงไม่ได้รับงบหรือทุนจากทางราชการเลยในอดีต เธอจึงเริ่มด้วยการทำงานกับเด็กๆที่วิ่งตามทีมงานที่สำรวจ ทีมสำรวจตั้งใจจะทำสนามเด็กเล่นให้เด็ก แต่เมื่อถามเด็กๆว่าอยากได้อะไรในพื้นที่นี้ เด็กส่วนมากกลับตอบว่าอยากได้สระว่ายน้ำ ซึ่งทำให้ทุกคนแปลกใจและเป็นไปได้ยากเพราะไม่มีงบประมาณเลย แต่เมื่อทำความเข้าใจกับเด็กๆ กลับพบว่า สระว่ายน้ำในความคิดของผู้ใหญ่ (ทีมงาน)กับเด็กๆมีความต่างกัน คุยกันไปเรื่อยๆแล้วพบว่าขนาดสระว่ายน้ำที่เด็กต้องการคือขนาด 3 x 5 เมตร เป็นบ่อน้ำย่อมๆเอง หลังจากนั้นเขาจึงเริ่มสร้างสระว่ายน้ำด้วยแรงงานจากเด็กๆ ผู้ปกครอง อาสาสมัครทั้งนักศึกษาสถาปัตย์ไทยและต่างประเทศ คุณปฐมาบอกว่า โชคดีมากที่ทางเข้าหมู่บ้านเป็นสะพานเล็กๆข้ามคลอง รถยนต์ไม่สามารถผ่านได้ ทุกอย่างจึงอาศัยคนขนข้ามมา สิ่งที่ผมและคนส่วนใหญ่คงคิดว่าการที่รถยนต์ไม่สามารถเข้ามาได้เป็นปัญหาหรือเป็นอุปสรรค แต่ในทัศนคติของคุณปฐมากลับมองว่าเป็นเรื่องที่ดีสำหรับการทำกิจกรรมครั้งนี้ เพราะทำให้เกิดความสามัคคีช่วยสร้างสำนึกในการมีส่วนของคนในชุมชน

จากสนามเด็กเล่นสู่สระว่ายน้ำ กลายมาเป็นสนามฟุตบอล ซึ่งเด็กผู้ชายจะชื่นชอบ แต่เด็กผู้หญิงไม่อยากเล่นฟุตบอล แต่ต้องการห้องสมุดสำหรับทำการบ้านตอนเย็นและเป็นที่อ่านหนังสือ จึงเกิดเป็นห้องสมุดชุมชนขึ้น และหลังจากนั้นก็มีโรงเก็บเครื่องมือชุมชน ฯลฯ ทุกๆปีช่วงเวลาปิดเทอมสามเดือน เธอและนักศึกษาของเธอ รวมทั้งเด็กๆและชาวบ้านในชุมชนจะกลับมารวมตัวกันซ่อมแซม สร้าง หรือพัฒนาบางอย่างที่ชุมชนต้องการ จากจุดนี้ จึงทำให้ชาวบ้านเริ่มรวมตัวและสร้างสาธารณะประโยชน์ด้วยตัวพวกเขาเอง โดยที่ไม่ต้องรอช่วงปิดเทอม เช่นการสร้างสะพานใหม่ ยกระดับถนนให้สูงขึ้นช่วงน้ำท่วมด้วยการเทพื้นซีเมนต์ เป็นต้น

ผมรู้สึกประทับใจมากกับการที่ได้มาเยี่ยมชมชุมชนตลาดเก่ามีนบุรีวันนี้ ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการสร้างสรรค์และพัฒนาชุมชนว่าหัวใจของมันอยู่ที่การสร้างสำนึกให้ทุกคนเห็นคุณค่าและความสามารถที่มีอยู่ในตนเอง และการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและปฏิบัติร่วมกัน สิ่งเหล่านี้สร้างสำนึกในการเป็นเจ้าของร่วมกัน และนั่นเป็นเหตุผลที่สังคมจะพัฒนาไปได้อย่างยั่งยืนด้วยสำนึกของการรับผิดชอบร่วมกันของชุมชน และความรู้สึกที่เข้าใจในคุณค่าของชีวิตที่เท่าเทียมกันของทุกคน

ผมถามคุณปฐมาว่า อะไรเป็นสิ่งที่คุณได้จากการทำงานแบบนี้ เธอตอบว่าสนุกดี ไม่มีอะไรมากไปกว่านั้น ผมถามต่อไปว่ามันเหมือนงาน NGO หรือเปล่า เธอยืนยันว่าไม่ใช่ งานที่เธอทำเป็นงานสถาปัตย์ ไม่ใช่งานสังคมสงเคราะห์ เป็นงานที่ใช้สถาปัตยกรรมเป็นตัวสื่อสาร เป็นตัวสร้างกระบวนการในการเรียนรู้ ทั้งกับลูกค้าที่เป็นชาวบ้านเอง แล้วกับเราซึ่งเป็นสถาปนิกด้วย ถึงอย่างไรก็ตาม ผมก็ยังคิดว่า สิ่งที่เธอทำ มันมากไปกว่างานด้านสถาปนิกและงานด้านสังคมสงเคราะห์ มันเหนือพ้นอาชีพแต่เป็นวิถีแห่งการดำเนินชีวิตที่สอดคล้องกับธรรมชาติ และเป็นแบบอย่างแห่งการสร้างสรรค์ตลอดทั้งกระบวนการ ปรากฏการณ์แบบนี้ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย ถ้าความรักความเมตตาที่บริสุทธิ์ไม่ปรากฏขึ้นในจิตใจของผู้ทำ

 

คามิน เลิศชัยประเสริฐ
20 สิงหา 56

Published on Sep 10, 2013 at 9:22 pm.Filled under: News | No Comments |
แท๊กซี่ใจดี

“แท๊กซี่ใจดี” นายณรงค์ สายรัตน์ รถเลขทะเบียน มท 9569

ของที่ถูกนำมาแจกภายในรถแท็กซี่

Read the full post

Published on Sep 18, 2017 at 3:16 am.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
แพทย์ทางเลือกวิถีธรรม

หมอเขียว (ใจเพชร กล้าจน)
แพทย์ทางเลือกวิถีธรรม
www.morkeaw.net

Read the full post

Published on Mar 12, 2013 at 8:38 pm.Filled under: 31 century museum around the world | No Comments |
ไม่มีอดีต ไม่มีปัจจุบัน ไม่มีอนาคต (การแสดงที่ปราศจากการแสดง)

Language : ENGLISH : THAI

นักเรียน : ท่านหมายความว่าทุกสิ่งที่เราทำคือละครอย่างนั้นหรือ?
ตรุงปะ : ใช่แล้ว ยกเว้นการภาวนา

จากข้อความบทนี้ทำให้ผมเข้าใจว่าโลกนี้คือเวทีและทุกคนเป็นนักแสดงอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เช่น ศีลธรรม กฎหมาย ความเชื่อ ฯลฯ ที่่มีอยู่ภายในจิตสำนึก ยกเว้นขณะที่เรานั่งสมาธิเท่านั้นที่ปราศจากการแสดงและเป็นอิสระ ปราศจากกฎเกณฑ์ต่าง ๆ อยู่นอกเหนือจิตสำนึกและเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ

ผมพยายามจะทำความเข้าใจว่า สภาวะที่เป็นอิสระอยู่เหนือกฏเกณฑ์ต่าง ๆ นี้จะมีจริงหรือ? แล้วถ้ามีสภาวะเช่นนั้นอยู่จริง เราจะเข้าถึงมันได้อย่างไร? แล้วจะมีประโยชน์อะไรเมื่อเข้าใจมัน? ผมพยายามคิดและทำความเข้าใจอยู่เป็นเวลาสองปี เริ่มจากการค้นคว้าอ่านหนังสือต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการภาวนาและปัจจุบันขณะ และพยายามทำความเข้าใจว่าปัจจุบันขณะคืออะไรและสภาวะที่ปราศจากความคิดปรุงแต่งจะเกิดขึ้นได้อย่างไร? ด้วยการฝึกและเฝ้าสังเกตจากการปฏิบัติสมาธิทุก ๆ วัน

ผมพบว่าความคิดทำให้เกิดสำนึกในเรื่องของเวลา อดีต ปัจจุบันและอนาคต และทำให้เกิดตัวตน เราจะเข้าใจเวลาได้เพราะมีประสบการณ์เข้ามาคั่น มันจึงทำให้เราเข้าใจว่าเวลามีอยู่ เกิดผู้เฝ้าสังเกตและสิ่งที่ถูกสังเกต ดังนั้นวิธีการที่จะเข้าถึงการปราศจากตัวตนและอยู่เหนือกาลเวลาก็คือการหยุดความคิดปรุงแต่ง เริ่มด้วยการเฝ้าดูลมหายใจเข้าออก จนกระทั่งลมหายใจหายไป ตัวผู้เฝ้าสังเกตหายไป เกิดการรวมกันเป็นหนึ่งเดียว

ผมได้ทำประติมากรรมเป็นรูปเหมือนของผมในท่านั่งสมาธิโดยปราศจากเครื่องนุ่งห่ม เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของการเป็นอิสระจากกฎเกณฑ์ทางวัฒนธรรมและความเชื่อต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ดี-เลว สวย-ไม่สวย ถูก-ผิด ฯลฯ ให้กลับไปหาจุดเริ่มต้นของการเป็นธรรมชาติ แล้วเอาสิ่งนี้เข้าไปจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ ในความหมายของผม รูปปั้นท่านี้เป็นพฤติกรรมที่ปราศจากการแสดง แต่เมื่อเรานำกลับไปแสดง มันจะยังเป็นกิจกรรมที่ปราศจากการแสดงอยู่หรือเปล่า?

หลังจากนั้นผมเลยคิดว่าจะเพิ่มการแสดงสดเข้าไปร่วม ถ้าเป็นตัวผมนั่งเปลือยกายอยู่จริง ๆ ในพิพิธภัณฑ์แทนหุ่น มันจะยังคงเป็นสภาวะที่เข้าถึงความจริงโดยปราศจากการแสดงหรือเป็นการแสดง และอะไรคือตัวชี้วัดว่ามันเป็นสภาวะที่อยู่เหนือกฏเกณฑ์ต่าง ๆ รวมถึงกาลเวลา เป็นอิสระและเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติทั้งหมด? เหตุผลของการแสดงสดของผมก็คือ ผมอยากมีประสบการณ์กับความจริงโดยตรง

๒๖ มีนาคม ๒๕๕๘ ผมเดินทางจากเชียงใหม่ไปปารีส ตั้งแต่หกโมงเช้าถึงห้าโมงเย็น ตรงเข้าที่พัก จากนั้นจึงเดินทางต่อไปยังไปพิพิทภัณฑ์ Palais de Tokyo แล้วตรงไปยังงานประติมากรรมรูปเหมือนของผมที่ตั้งแสดงอยู่ เมื่อไปถึงผมก็ยกงานประติมากรรมเก็บไว้ข้างใต้ แล้วถอดเสื้อผ้าขึ้นไปนั่งแทนรูปปั้นตั้งแต่หนึ่งทุ่มจนถึงอีกสิบนาทีก่อนห้าทุ่ม ช่วงแรกผมรู้สึกไม่แน่ใจนักว่าจะทำดีหรือเปล่า เพราะได้คุยกับภัณฑารักษ์ (curator) ของงานไว้ว่า ถ้าผมเกิดความอายหรือไม่กล้าที่จะทำต่อหน้าผู้คนมากมายก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการแสดง ผมจึงเรียกมันว่าการแสดงที่ปราศจากการแสดง (perform without perform) เพราะมันไม่ได้เป็นการแสดงเพื่อที่จะโชว์ แต่เป็นการแสดงเพื่อที่จะเรียนรู้และเข้าใจความจริงภายในตัวผม ภัณฑารักษ์ (curator) ก็บอกว่าเหมือนผมจะมีลูกเล่น (tricky) อะไรหรือเปล่าที่เมื่อไปถึงแล้วจะไม่แสดง แต่ผมตอบว่าไม่ใช่ เพราะว่าผมได้บอกไว้ล่วงหน้าแล้วว่าผมอาจจะไม่ทำการแสดง และผมมีสิทธิ์ที่จะเลือกแสดงหรือไม่แสดงก็ได้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในเวลานั้น ส่วนคุณก็มีสิทธิ์ที่จะไม่ให้ผมไปก็ได้ตั้งแต่ตอนที่พูดคุยตกลงกัน

ผมคิดถึงเหตุปัจจัยมากมายว่าจะทำหรือไม่ทำดี เพราะผมรู้ว่ามันมีสิ่งที่หมิ่นเหม่อยู่ อาจทำให้หลายคนที่ไม่เข้าใจงานชิ้นนี้และคิดว่าผมทำมันเพื่ออยากดังและโอ้อวดความสามารถในการปฏิบัติธรรม โดยเฉพาะการแก้ผ้านั่งสมาธิ ซึ่งมันเป็นราคาสูงมากที่ผมรู้อยู่แล้วว่าต้องจ่ายเพื่อการเรียนรู้ครั้งนี้ ผมคิดแม้กระทั่งว่าจะไม่ไปฝรั่่งเศสในวินาทีสุดท้ายก่อนขึ้นเครื่อง แต่สุดท้ายผมก็คิดว่า ความสงสัยนี้จะยังอยู่ในตัวผมตลอดไป ผมจึงตัดสินใจขึ้นเครื่องและจะต้องทำมันเพื่อตอบข้อสงสัยของผม

ผมตั้งใจว่าจะนั่งเท่าที่นั่งได้ จะเป็นสิบนาทีหรือหนึ่งชั่วโมงก็ได้ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและเหตุปัจจัยต่าง ๆ ณ ขณะนั้น ผมจึงเริ่มถอดเสื้อผ้า ยกหุ่นเก็บไว้ใต้แท่นที่นั่งแล้วขึ้นไปนั่งแทน ในช่วงนั้นมีผู้ชมประมาณสิบกว่าคน และทุกคนก็ประหลาดใจว่าผมจะทำอะไร เพราะไม่ได้มีการประกาศต่อสาธารณะมาก่อน มีผู้รู้เพียงภัณฑารักษ์ (curator) และผู้ช่วยภัณฑารักษ์ (assistant curator) เท่านั้น ขณะที่ผมเริ่มนั่ง ผมสังเกตและรู้สึกได้ถึงเสียงภายในตัวผม ซึ่งก็คือเสียงการเต้นของหัวใจผมที่แรงมาก และเสียงต่าง ๆ ภายนอกตัวผมก็ดังมาก เช่นเสียงพูดของคนรอบข้าง เสียงแฟลชของกล้องถ่ายรูป เสียงดนตรีและการแสดงงานชิ้นอื่น ๆ ของปาร์ตี้การเปิดงาน ฯลฯ

ณ เวลานั้นผมรู้สึกสับสน ความอายและคำถามต่าง ๆ ที่อยู่ในตัวผมต่างเข้ามาในสมองผมตอนนั้นมากมาย แต่ผมก็พยายามหายใจลึก ๆ ช้า ๆ ไปเรื่อย ๆ เพราะมีประตูที่จะเข้าสู่ความสงบมีอยู่แค่ประตูเดียวก็คืออยู่กับลมหายใจ ณ ปัจจุบันขณะ ถ้าหากอยู่กับลมหายใจได้แล้ว อย่างอื่่นที่จะเกิดขึ้นก็จะเป็นไปตามจังหวะของมันเอง ผมเฝ้าอยู่กับปัจจุบันขณะด้วยการดูลมหายใจจนกระทั่งลมหายใจและตัวผมรวมเป็นหนึ่ง ผมมารู้ตัวอีกทีก็ตอนที่ผมสัปหงก แล้วก็ลืมตาตื่นขึ้นมา ผมจึงตัดสินใจเลิกนั่ง รวมเวลาที่นั่งเกือบสี่ชั่วโมง ผมก็รู้สึกประหลาดใจเช่นกัน หลังจากนั้นผมก็เอาหุ่นกลับขึ้นมาตั้งแทนที่ผม 

โดยสรุปแล้ว ผมก็ยังไม่สามารถเข้าใจว่าในช่วงขณะที่ผมนั่งอยู่นั้น ที่มีสมาธิสูง มันจะเรียกว่าการไม่มีกาลเวลาได้ไหม ผมไม่สามารถสรุปได้ชัดเจน มันคงมีเวลาอยู่ แต่เป็นเวลาที่อยู่เหนือมิติเวลาของอดีต ปัจจุบัน อนาคต มันไม่มีประสบการณ์ของความคิดและอยู่เหนือจิตสำนึกของผู้เฝ้าสังเกตอยู่ จึงไม่สามารถเอาประสบการณ์ไปอิงกับมิติเวลาของอดีต ปัจจุบัน อนาคตได้ ดังนั้นขณะที่ผมนั่งอยู่ แม้เวลาภายนอกตัวผมผ่านไปแล้วหลายชั่วโมง แต่มิติเวลาภายในตัวผมเป็นเวลาที่ไม่มีอดีต ไม่มีปัจจุบัน ไม่มีอนาคต มันจึงเหมือนผ่านไปเพียงชั่วขณะเดียว

หลังจากเสร็จการแสดง ผมก็ตรงกลับไปยังที่พัก โดยไม่ได้ทักทายสนทนากับใครมากนัก เช้าของวันรุ่งขึ้นผมได้เจอกับเพื่อนศิลปินชาวอินโดนีเซียที่ร่วมงานแสดง ชื่อ Tisna Sanjaya แล้วเขาก็บอกผมว่าLittle Buddha ผมเป็นชาวพุทธแต่เป็นชาวพุทธที่เปลือยกาย เป็นการเมืองยิ่งกว่าศิลปะการเมือง เขาพูดว่างานที่ผมทำเป็นงานที่ดีที่สุด ตอนนั้นผมไม่รู้ว่าเขาพูดเล่นหรือพูดจริง คิดว่าเขาคงแซวเล่นมากกว่า ผมจึงยิ้มรับตามมารยาทและแยกย้ายไป

ต่อมาช่วงบ่าย ผมกลับไปที่งานเพื่อคิดทบทวนว่าผมจะแสดงสดอีกหรือเปล่า แต่ก็ตัดสินใจว่าจะไม่แสดงสดเพราะมันไม่ใช่การแสดง ผมได้เรียนรู้จากมันไปแล้ว จึงไม่ต้องมีการแสดงสดเกิดขึ้นอีก แล้วเจอ Tisna อีกครั้ง เขากำลังแสดงสดอยู่ตรงข้ามชิ้นงานของผม โดยเชิญผู้ชมมานั่งแล้วอธิษฐาน แล้วเอาถุงพลาสติกมาโบกรับอากาศที่คนอธิษฐานไปเพื่อรวบรวมคำอธิษฐานของผู้ชมทั้งหลายไว้ในถุงเป็นจำนวนหลายถุง แล้วห้อยไว้ในห้องแสดงงานเต็มไปหมด

ตอนแรกผมรู้สึกว่าการแสดงของเขาเป็นความคิดที่เป็นอุดมคติและเพ้อฝัน เขาเชิญให้ผมไปร่วมการแสดงและอธิษฐานเพื่อโลกใบนี้ ผมจึงอธิษฐานว่า “ขอให้ทุกคนพบสันติภายในตน” จากนั้นเขาก็ล้างเท้าให้ผมแล้วใช้ผ้าเช็ดให้แห้งอย่างดี แล้วก็จูบเท้าผม ณ เวลานั้นผมประหลาดใจที่เขาทำเช่นนั้นให้ผู้ร่วมการแสดง ผมจึงถามเขาว่าเขาจูบเท้าทุกคนที่ร่วมแสดงกับเขาหรือเปล่า เขาตอบว่า ในชีวิตเขาจูบเท้าแค่สามคน คือแม่เขา ครูของเขา และก็ผม จากคำพูดนั้นทำให้ผมรู้สึกถึงความจริงใจที่เขามีต่อสิ่งที่เขาเชื่อและการแสดงออก ผมรู้สึกว่าศรัทธาที่เขามีต่อผมมีมากกว่าศรัทธาที่ผมมีต่อตัวเอง ผมไม่คิดว่าตัวเองจะมีคุณค่ามากพอต่อเขา ระหว่างการแสดงสดก็มีบทสนทนา เขาถามผมว่าผมเชื่อไหมว่างานศิลปะที่ผมทำ และศิลปะที่เขาทำจะสามารถเปลี่ยนแปลงโลกได้หรือไม่? ผมตอบว่าผมไม่รู้ว่ามันจะเปลี่ยนอะไรได้บ้าง แต่ ณ ตอนนี้สิ่งที่เขาทำกับผม มันได้เปลี่ยนทัศนคติที่ผมมีต่อเขาและต่อตนเองทั้งหมดก่อนหน้านี้ ผมคิดว่ามันคือพลังงานบวกได้แก่ความศรัทธาและความบริสุทธิ์ใจในการแสดงออกของเขาที่เปลี่ยนแปลงผม ถ้ามันสามารถเปลี่ยนแปลงผมได้ มันก็น่าจะเปลี่ยนแปลงโลกใบนี้ได้เช่นกัน

เย็นวันอาทิตย์ที่ ๒๙ มีนาคม ผมเจอเขาหน้าโรงแรมที่เขาพักอยู่ เราจะกลับกันเช้าวันจันทร์ ผมจึงชวนเขาไปทานอาหารเย็น เพื่อจะมีเวลาพูดคุยและทำความรู้จักกับเขามากยิ่งขึ้น เขาบอกว่าไม่ว่างที่จะไปด้วย เพราะต้องเขียนบทความส่งหนังสือพิมพ์ เขาต้องเขียนรายงานข่าวจากการที่ได้มาร่วมแสดงงาน และแบ่งปันประสบการณ์ของเขาให้กับนักเรียน นักศึกษาหรือคนที่ไม่มีโอกาสได้มา เพื่อให้เกิดความรู้มากขึ้น ซึ่งขณะนั้นก็เลยกำหนดส่งแล้ว แต่ผมก็บอกว่าจะยังไงเขาก็ต้องกินข้าวเย็นอยู่แล้ว เสร็จแล้วค่อยกลับมาทำต่อก็ได้ เขากล่าวขอโทษผมที่ปฏิเสธในความเป็นบุคลิกส่วนตัวของเขา เพราะเขามาที่นี่ไม่ใช่เพื่อมาแสดงงานของเขาอย่างเดียวแต่มาเพื่อคนของประเทศเขาด้วย

ผมรู้สึกประทับใจถึงความเสียสละและมุ่งมั่นเพื่อส่วนรวมที่มีอยู่ในตัวเขา แล้วย้อนกลับมาดูตัวผมเองว่าผมมาแสดงงานเพื่ออะไร? เพื่อตัวผมเอง เพื่อความสงสัยในตัวผม ผมรู้สึกว่าสิ่งที่ผมทำมาทั้งหมด ยังคงเป็นไปเพื่อการแสดง เพราะผมยังรู้สึกได้ถึงความกังวลที่ยังมีอยู่ภายในจิตใจทั้งก่อนหน้าและหลังจากการแสดงสด ในขณะที่ผมพยายามทำความเข้าใจความจริงผ่านการนั่งสมาธิ แต่ Tisna กลับมีความจริงและเป็นอิสระเหนือกฎเกณฑ์มีอยู่แล้วภายในตนโดยธรรมชาติ สิ่งที่เขาแสดงออกเต็มไปด้วยพลังแห่งศรัทธา ความเชื่อมั่น การเสียสละ มุ่งมั่น ความบริสุทธิ์ที่ปราศจากการยึดมั่นตัวตนเป็นศูนย์กลาง มันอยู่เหนือศิลปะและกาลเวลา สิ่งที่เขาทำมันไม่ใช่การแสดง แต่เป็นการภาวนา การภาวนาไม่ใช่เพียงแค่การนั่งสมาธิเท่านั้น แต่มันมีอยู่ในทุกอริยาบทในกิจกรรมที่เราจดจ่อหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกับสิ่งที่เรากำลังกระทำอยู่ และผมเชื่อว่าสิ่งนี้เป็นจุดกำเนิดของการสร้างสรรค์ที่แท้จริง

 

11 เมษายน 2558

 

Published on Feb 20, 2017 at 3:31 am.Filled under: News | No Comments |
ไม่มีอะไรพิเศษ Published on Feb 20, 2017 at 9:58 pm.Filled under: News | No Comments |
ไม่ใช่อย่างที่คิด ไม่ใช่อย่างที่เห็น

Language ENGLISH : THAI

เช้าวันนี้ผมปั่นจักรยานขึ้นดอยสุเทพ ระหว่างขากลับบ้านในซอยวัดอุโมงค์ ผมเห็นจากด้านหลังของพระสงฆ์รูปหนึ่งซึ่งกำลังเข็นรถคนป่วยเดินกลับวัด ผมขี่ผ่านแล้วแลกลับไปดูจึงพบว่า ในรถเข็นนั้นมีบาตรที่เต็มไปด้วยอาหารกับสุนัขตัวหนึ่ง ผมแปลกใจจึงหยุดดู พอท่านเดินมาใกล้แล้วถึงเห็นว่าท่านมีอาการเหมือนคนป่วย เดินช้าและเหมือนไม่มีแรง ผมถามท่านว่า ท่านป่วยหรือเปล่า ทำไมยังมาบิณฑบาตร ทำไมไม่รอฉันท์ที่วัด ท่านตอบว่า ‘ไม่ใช่อย่างที่คิด ไม่ใช่อย่างที่เห็น’ ผมไม่เข้าใจคำตอบ จึงถามย้ำว่า มีพระตั้งหลายรูปที่ออกมาบิณฑบาตร แล้วทำไมท่านไม่รออยู่ที่วัด ท่านก็ยังตอบเช่นเดิมว่า ‘ไม่ใช่อย่างที่คิด ไม่ใช่อย่างที่เห็น’ ผมจึงยิ่งงง

แล้วเดินตามท่านไป ด้วยความสงสัยว่าทำไมท่านป่วยแล้วยังออกมาบิณฑบาตร

ผมถามท่านต่อว่าท่านบวชมานานหรือยัง? แล้วบวชอยู่ที่ไหน? อยู่วัดอุโมงค์หรือเปล่า? แล้วไม่มีใครดูแลท่านหรือ? ท่านเลยตอบว่า บวชมา 30 กว่าพรรษาแล้ว แล้วย้ายวัดไปเรื่อย เพิ่งมาอยู่ที่วัดอุโมงค์ ท่านก็เริ่มอธิบายว่า พระสมัยนี้ไม่ใช่อย่างที่เราคิด ไม่ใช่อย่างที่เราเห็น พออายุได้ 30 – 40 ปีก็จะลาศึก แล้วไปมีลูกเมีย เพราะกลัวไม่มีใครเลี้ยงยามแก่

ผมก็ยังสงสัยเรื่องเดิมว่าไม่มีใครดูแลท่านเหรอ ทำไมท่านป่วยแล้วยังออกมาบิณฑบาตรอีก ท่านเลยตอบว่า ถ้าไม่บิณฑบาตรก็ไม่มีอะไรฉันท์ ผมถามต่อว่าก็มีพระหลายรูปที่ออกมาบิณฑบาตร ท่านตอบว่า คนเราต้องช่วยเหลือตัวเองให้ถึงที่สุดก่อน แล้วถ้าวันไหน เราช่วยเหลือตัวเองไม่ได้แล้ว ก็เข้าป่า หาที่สงบๆแล้วละสังขาร ผมอึ้งไปชั่วขณะ ผมแปลกใจมากและไม่คาดคิดว่าจะได้ยินคำตอบเช่นนี้จากท่าน โดยเฉพาะจากพระสมัยนี้ เป็นคำพูดที่เรียบง่ายและปล่อยวาง

ผมรู้สึกถึงความบริสุทธิ์ใจที่มั่นคงของท่าน ผมมองย้อนกลับมาดูตัวเอง และถามตัวเองว่า ถ้าเราป่วยอย่างท่านแล้วเราจะยังออกบิณฑบาตรอยู่ไหม? เราจะช่วยเหลือตัวเองจนกว่าเราจะไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ใช่ไหม? หรือเราเคยชินที่จะพึ่งคนอื่นก่อนจนลืมที่จะช่วยเหลือตัวเองให้ถึงที่สุด? ณ เวลานั้นทำให้ผมเกิดความปีติและคิดว่า วิถีปฏิบัติของท่านเป็นวิถีชีวิตที่น่าเคารพ เป็นธรรมชาติ

31 ตุลาคม 2555

Published on Nov 02, 2012 at 2:14 am.Filled under: News | No Comments |
“Mother Threw Herself in Front of the Train To Save Her 2 Years Old Child”.

Performing of Olga Erikson (1927)
Curator :

Carl Michael von Hausswolff

Sweden

Read the full post

Published on Apr 12, 2011 at 12:45 am.Filled under: 31 century museum station | No Comments |
©31century.org | Web Site Represented by THAIIS